2566-1 นางสาวกัญญาณัฐ จิตตเสน -วิทยานิพนธ์

70 2) ท่านคิดว่าตามพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติการยางแห่ง ประเทศไทย พ.ศ. 2558 มาตรการทางกฎหมายที่บังคับใช้อยู่เกิดประสิทธิภาพและเป็นธรรมต่อ เกษตรกรชาวสวนยางแล้วหรือไม่อย่างไร ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์ในการขอความยินยอมที่บังคับใช้กับผู้ขอรับการสงเคราะห์เป็น ผู้ทาสวนยางในที่ดินที่ตนเช่า ตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง พ.ศ. 2503 เป็นธรรมแก่ผู้เช่าแล้วหรือไม่ ส่วนที่ 4 ปัญหาอื่นและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะหรือข้อแนะนาอื่น ๆ ของผู้ให้สัมภาษณ์ที่คิดว่าเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา มาตรการทางกฎหมายที่ใช้ในการคุ้มครองสิทธิของเกษตรกรชาวสวนยาง ในฐานะผู้เช่า ให้ได้รับสิทธิ และประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรชาวสวนยาง เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมแก่บุคคลในการ ประกอบอาชีพที่เหมือนกัน และสอดรับกับหลักรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 3.3 เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์โดยหาค่าความเที่ยงตรงในเนื้อหา (Content Validity) ดาเนินการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ตรวจสอบความเหมาะสมของแบบสัมภาษณ์ทั้งทางด้านภาษาและ เนื้อหาสาระ โดยพิจารณาให้ครอบคลุมเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่กาหนดไว้ (พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ, 2540) และนามาวิเคราะห์โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of congruence: IOC) เพื่อพิจารณาคุณภาพของข้อคาถาม กาหนดให้ข้อคาถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ( IOC) มีค่า ระหว่าง 0.6 ถึง 1.00 ซึ่งหมายถึงข้อคาถามจากแบบสอบถามในการศึกษาครั้งนี้มีคุณภาพที่เหมาะสม มีความถูกต้องด้านโครงสร้างเนื้อหา ภาษา และสามารถวัดในสิ่งที่จะวัดได้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรชาวสวนยางพารา ในฐานะผู้เช่า เพื่อ เป็นแนวทางในการสร้างแบบ สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) 2. สร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) 3. นาแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ที่สร้างขึ้นให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ตรวจสอบความตรงของ เนื้อหา (Content of Validity) ของข้อซักถามแต่ละข้อเพื่อหาค่าความสอดคล้องของสิ่งที่ต้องการวัด โดยการหาค่า IOC (Index of congruence) จากผู้เชี่ยวชาญโดยใช้หลักเกณฑ์การประเมิน ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3