2566-1 นางสาวปุณฑริก เกิดทิพย์-วิทยานิพนธ์
125 มาตรา (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ พ.ศ. .... หลักการ และที่มา 5 6 “สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)” หมายความว่า โปรแกรมกลุ่ม หนึ่งที่ทางานโดยใช้พื้นฐานทางเทคโนโลยี ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้สื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน อาทิ Facebook Twitter Wikipedia YouTube LINE Instagram ห รื อ Weblog ต่ า ง ๆ แ ล ะ หมายความรวมถึงสื่อสังคมออนไลน์ใหม่ ๆ ที่จะมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นใน อนาคต บุคคลใดที่ถูกกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ให้ดาเนินการ ดังนี้ (1) เมื่อสงสัยว่ามีการกลั่นแกล้ง ให้ผู้ถูกกลั่นแกล้งหรือบุคคลตาม มาตรา 10 วรรคสาม รายงานกรณีดังกล่าวไปยัง หน่วยงานแผนกคุ้มครอง สิทธิตามมาตรา 6 (2) เมื่อได้รับการรายงานตามบทบัญญัติในวรรคก่อน หน่วยงาน แผนกคุ้มครองสิทธิดาเนินการทันทีเพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริง เพื่อยืนยันการ มีอยู่หรือไม่มีอยู่ของการถูกกลั่นแกล้ง (3) เมื่อการกลั่นแกล้งได้รับการยืนยันตามบทบัญญัติในวรรคสอง ให้หน่วยงานรีบดาเนินการที่จาเป็นในเบื้องต้น เพื่อหยุด ยับยั้ง และป้องกัน ไม่ให้เกิดการกลั่นแกล้งซ้า (4) กรณีผู้ถูกกลั่นแกล้งได้รับความกระทบกระเทือนทางจิตใจอย่าง รุนแรง ให้ประสานการช่วยเหลือไปยังบุคลากรที่มีความรู้ เฉพาะด้าน จิตวิทยา ให้กองบังคับการปราบปรามการกระทาความผิด เกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเทคโนโลยี จัดตั้งหน่วยงานแผนกคุ้มครองสิทธิขึ้นเพื่อให้มี อานาจและหน้าที่ดังนี้ (1) รับเรื่องร้องเรียนและช่วยเหลือประสานงานเบื้องต้นระหว่าง ผู้เสียหายและผู้กระทาผิด (2) ให้มีอานาจในการติดต่อผู้ให้บริการในระงับการส่งออก นาเข้า เผยแพร่ หรือทาลาย ลบ ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดี ทฤษฎี และหลักการ ในบทที่ 2 -เป็นเรื่องที่บัญญัติขึ้น ใหม่ในร่าง พระราชบัญญัตินี้ จากการทบทวน วรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ ในบทที่ 2 -กระทรวงศึกษาธิการ (แผนเผชิญเหตุการณ์ ทางไซเบอร์บูลลี่) - Cyber Scan - e-Safety Commissioner
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3