2566-1 นางสาวปุณฑริก เกิดทิพย์-วิทยานิพนธ์
139 (ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ พ.ศ. .... โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการป้องกันการกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ พ.ศ. .... พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการที่เกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา 25 ประกอบ มาตรา 26 มาตรา 32 และมาตรา 34 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณา จักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามกฎหมาย หมวดที่ 1 บททั่วไป มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการป้องกันการกลั่นแกล้งทาง สื่อสังคมออนไลน์ พ.ศ. .... มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น มาตรา 3 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิ จและสังคมรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “การกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์” หมายความว่า การกลั่นแกล้งผ่านการใช้ เทคโนโลยีหรือการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ใด ๆ ที่ส่งโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใด อันเป็น การละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลอื่น โดยมีเจตนาเพื่อการกลั่นแกล้ง ให้ร้าย ด่าว่า ซึ่งเป็นสาเหตุไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อมที่จะก่อให้เกิดความเจ็บปวดทางจิตใจ กระทบต่อสุขภาพหรือความเป็นอยู่ที่ดีที่บุคคลอื่น “การกลั่นแกล้ง” หมายความว่า พฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม เกิดจากความ ตั้งใจกระทาให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ ความเจ็บปวดทางจิตใจ ความอับอาย โดยใช้วิธีการส่งข้อความ เผยแพร่รูปภาพ คลิปวีดีโอ หรือโดยวิธีการใดเพื่อสื่อไปยังผู้ถูกกระทาให้ได้รับความอับอาย หวาดกลัว ถูกเกลียดชัง หรือถูกลดทอนคุณค่าความเป็นคน “การให้ร้าย” หมายความว่า การ หาความร้ายป้ายผู้อื่น โดยมุ่งประสงค์เพื่อให้ได้รับ ความอับอาย ความทุกข์ ความเจ็บปวดทางจิตใจ “การด่าว่า” หมายความว่า การ ใช้ถ ้ อยคาว ่ าผ ู้ คนอื่นใ ห้เ สียหาย โดยเป็นถ้อยทาที่ หยาบคา ยหรือค าที่ม ี ค วามหมายส ่ อไ ปใ นท างไ ม่ด ี
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3