2566-1 นางสาวปุณฑริก เกิดทิพย์-วิทยานิพนธ์

55 ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็น เท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ตามประมวลกฎหมายอาญา หรือหากการนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ 2.4.5 พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปัจจุบันพบว่าสิทธิความเป็น ส่วนตัวในข้อมูลส่วนบุคคลมีการล่วงละเมิดเกิดขึ้นมากจนสร้างความความเสียหายเดือดร้อน หรือ ราคาญให้แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้การเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลอันเป็นการล่วงละเมิดดังกล่าวทาได้โดยง่าย ก่อให้เกิด ความเสียหายต่อสังคม และเศรษฐกิจในภาพรวม จึงบัญญัติให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคลขึ้นเป็นการทั่วไป เพื่อกาหนดมาตรการในการกากับดูแล รวมถึงออกหลักเกณฑ์ใน การให้ ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562, 2562) ได้มีการบัญญัติถึงการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอ่อนไหว กล่าวคือ ข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคลที่ โดยสภาพมีความละเอียดอ่อนและสามารถก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสิทธิเสรีภาพหรืออาจถูกใช้ ในการ เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ ไว้ใน มาตรา 26 34 โดยวางหลักการห้าม (1) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อัน เป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา (2) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเท ศ ความ ปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ ประชาชน (3) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตาม ประมวลกฎหมายอาญา (4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1) (2) (3) หรือ (4) ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง (1) มิได้กระทาต่อประชาชน แต่เป็นการกระทาต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ผู้กระทา ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ และให้เป็นความผิดอันยอมความได้ 34 มาตรา 26 ห้ามมิให้เก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความคิดเห็น ทางการเมือง ความเชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม ข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลชีวภาพ หรือข้อมูลอื่นใด ซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลใน ทานองเดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด โดยไม่ได้รับ ความยินยอมโดยชัดแจ้งจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่ (1) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลซึ่งเจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม (2) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสมของมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ การเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงาน ให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็นสมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่างสม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กร ที่ไม่แสวงหา กาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรนั้น (3) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิ เรียกร้องตาม กฎหมาย (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3