2566-1 นางสาวปุณฑริก เกิดทิพย์-วิทยานิพนธ์

68 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา การ โดยใช้แบบ ตรวจสอบรายการ (Check List) ส่วนที่ 2 ประเด็นสัมภาษณ์ 1) ท่านคิดว่า การกระทาในลักษณะใด/รูปแบบใด ที่ถือว่าเป็นการกลั่นแกล้งทางสื่อ สังคมออนไลน์ (cyberbullying) 2) ท่านคิดว่าสาเหตุ /มูลเหตุจูงใจที่ก่อให้เกิดกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออน ไลน์ มีอะไรบ้าง 3) ท่านคิดว่า การกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ ส่งผลกระทบต่อผู้ถูกกลั่นแกล้ง หรือไม่ เพียงใด 4) ท่านคิดว่ามาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ ของประเทศไทยในปัจจุบัน มีความเหมาะสม หรือไม่ เพียงใด 5) ท่านคิดว่าสิทธิส่วนตัวในการแสดงความคิดเห็น ตามกฎหมาย กับ การบูลลี่ มีความเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร 6) ท่านคิดว่าการบูลลี่ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้ถูกกลั่งแกล้งมากที่สุด เป็นการ กระทาในรูปแบบใด ส่วนที่ 3 ปัญหาอื่น และข้อเสนอแนะ 3.3 เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการกลั่นแกล้งทางสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเป็น แนวทางในการสร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) 2) สร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) 3) นาแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ที่สร้างขึ้นให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ตรวจสอบความ ตรงของ เนื้อหา (Content of Validity) ของข้อซักถามแต่ละข้อเพื่อหาค่าความสอดคล้องของ สิ่งที่ต้องการวัด โดยการหาค่า IOC (Index of congruence) จากผู้เชี่ยวชาญโดยใช้หลักเกณฑ์ การประเมิน ดังนี้ +1 หมายถึง แน่ใจว่าสิ่งที่ประเมินสอดคล้องกับเนื้อหา 0 หมายถึง ไม่แน่ใจสิ่งที่ประเมินสอดคล้องกับเนื้อหา -1 หมายถึง แน่ใจว่าสิ่งที่ประเมินไม่สอดคล้องกับเนื้อหา 4) ปรับปรุงแก้ไขแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ 5) เมื่อได้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างที่มีความเชื่อมั่นแล้ว นาแบบสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง ไปเก็บข้อมูลเพื่อดาเนินการวิจัย โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสัมภาษณ์ แบบมี โครงสร้าง (Structured Interview) ไปทาการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายด้วยตนเอง และ เก็บรวบรวม

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3