2566-1 นางสาวปุณฑริก เกิดทิพย์-วิทยานิพนธ์

69 ข้อมูลตามประเด็นข้อคาถามที่กาหนดไว้ในแบบสัมภาษณ์ที่ตรวจสอบตรงตามเนื้อหา (Content of Validity) ยื่นต่อคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งได้รับการรับรองแล้ว ตามแน วจริยธรรมการวิจัย ในคนที่ เป็นมาตรฐานสากล ได้แก่ Declaration of Helsinki, The Belmont Report, CIOMS Guideline แ ล ะ Conference on Harmonization in Good Clinical Practice หรือ ICH-GCP ตามใบรับรองที่ COA No. TSU 2002_247 REC No.0550 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยมีลาดับขั้นตอนในการ วิเคราะห์ ดังนี้ 1) ผู้วิจัยจะนาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ โดยนาคาสัมภาษณ์ หรือบันทึกสัมภาษณ์จากผู้ถูก สัมภาษณ์มา เปรียบเทียบระหว่างแต่ละบุคคล และจัดลาดับความสาคัญและคุณลักษณะของข้อมูล 2) นาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ที่จัดลาดับความสาคัญแล้วนามาเปรียบเทียบกับข้อมูลทาง เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นแนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะได้ทราบถึง ลักษณะที่มีความคล้ายคลึงกัน และแตกต่างกันของข้อมูล 3) นาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ และจากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ มาทาการวิเคราะห์ ข้อมูล อย่างเป็นระบบ และนาไปสู่การเชื่อมโยงข้อมูลเข้าด้วยกัน แสดงความสาคัญของข้อมูล ได้ชัดเจน ยิ่งขึ้น เพื่อสะดวกในการวิเคราะห์และการเขียนรายงาน ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาจะ เป็นข้อมูลที่ไม่ใช่ ตัวเลขแต่จะประกอบด้วยการพรรณนาที่มีรายละเอียดและลึก มีการอ้างอิง โดยตรงเกี่ยวกับที่มาของ ข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าหรือข้อมูลเอกสาร ดังนั้น ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการตอบประเด็นสัมภาษณ์และข้อมูลเอกสารต่าง ๆ จะถูก นามาวิเคราะห์และประมวลผล ซึ่งการวิเคราะห์จะออกมาในรูปเชิงพรรณนา นาไปสู่คาตอบใน การศึกษาและสรุปตีความตามหลักวิชาการประกอบการเขียนรายงาน

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3