2566-1 นางสาวพิชญ์สินี ใหม่คง-วิทยานิพนธ์

149 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว(ออนไลน์). (2564). สถิติความรุนแรงในครอบครัว ปีงบประมาณ 2564 (ตุลาคม 2563 – พฤษภาคม 2564 . สืบค้นจาก : https://www.isranews.org/article/isranews-scoop/99838-isranews-v.html [16 เมษายน 2566] กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2566). แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว พ.ศ. 2566—2570 . กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กองส่งเสริมสถาบันครอบครัว กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว . (2563). คู่มือจัดตั้งและดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) . กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. กองส่งเสริมสถาบันครอบครัว กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (ออนไลน์). (2560). คู่มือจัดตั้ง และดำเนินงานศูนย์พัฒนา ครอบครัวในชุมชน (ศพค.) . สืบค้นจาก : https://www.thanmamoon.go.th/dnm_file/project/98125846_center.pdf [22 กันยายน 2565] เกียรติเฉลิม รักษ์งาม. (2565). สภาพปัญหาและแนวทางการป้องกันความรุนแรงในครอบครัวในจังหวัด ปทุมธานี: กรณีศึกษาช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด 19. วารสารมหาจุฬานาครทร รศน์. มหาวิทยาลัยรังสิต , 9 (4), 200–213. ขจรจิต บุนนาค (ออนไลน์). (2554). ความขัดแย้ง VS ความรุนแรง . สืบค้นจาก : https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/july_sep_11/pdf/aw21 .pdf [29 สิงหาคม 2565] จิตฤดี วีระเวสส์. (2550). ความรุนแรงภายในครอบครัว. วารสารศาลยุติธรรมปริทัศน์ , หน้า 87. จิรโชค วีระสย (ออนไลน์). (2561). ว่าด้วยทฤษฎีการหน้าที่ประโยชน์( Functionalism) ในสังคมวิทยา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ , 7 (2). สืบค้นจาก : file:///C:/Users/User/Downloads/jomcusoc,+Journal+editor,+22.pdf [2 กันยายน 2565] จุฑารัตน์ เอื้ออํานวย. (2556). ระบบยุติธรรมทางเลือก แนวการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์ . จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. จุฑารัตน์ เอื้ออํานวย และคณะ. (2555). โครงการศึกษาวิจัยรากเหง้าของความขัดแย้ง สู่ทางออกเพื่อ ความปรองดอง . คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริง เพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.). ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2553). กฎหมายมหาชน: ความเป็นมา ทฤษฎี และหลักการที่สำคัญ . กรุงเทพฯ : วิญญูชน.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3