2566-1 นางสาวมูณีเราะฮ์ เบ็ญโกบ-วิทยานิพนธ์
82 3.1.1 แนวคิด ทฤษฎี หลักการเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในการจัดการขยะอาหารที่ นำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ ประกอบด้วย - แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะอาหาร (Food waste) - แนวคิดการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม - แนวคิดเรื่องมีบทบาทอำนาจหน้าที่ในการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กร - ทฤษฎีการมีส่วนร่วมของประชาชน - หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน - ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ.2561- 2580 3.1.2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการทางกฎหมายในจัดการขยะอาหาร ดังนี้ - พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 - พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560 - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 - พระราชบัญญัติระเบียบราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 - พระราชกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 - พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 - พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 - ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดการมูลฝอย พ.ศ. 2560 3.1.3 กฎหมายต่างประเทศ ดังนี้ - สาธารณรัฐประชาชนจีน - ประเทศสหรัฐอเมริกา - ประเทศฝรั่งเศส 3.2 การวิจัยภาคสนาม (Field Research) การวิจัยภาคสนามเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลมาจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานการจัดการ ขยะอาหารหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการขาดมาตรการทางกฎหมายในการจัดการขยะ อาหาร ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนวิธีการในการเก็บข้อมูล ซึ่งการศึกษานี้กำหนดระเบียบวิธีวิจัยเชิง คุณภาพ คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interviews) 3.2.1 สัมภาษณ์เชิงลึก
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3