2566-2 นายธนิสร เกิดสม-การค้นคว้าอิสระ

68 วัตถุประสงค์ และหากมิได้ใช้ประโยชน์ในที่ดินภายในกำหนดระยะเวลาตามกฎหมายแล้ว ตาม ประมวลกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส มาตรา L.12- 6 6 ได้ กำหนดไว้ว่า ถ้าอสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี้ไม่ได้ถูก นำไปใช้ภายในระยะเวลาห้าปีตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย ทั้งนี้วัตถุประสงค์ของเจ้าของเดิมหรือ ทายาทสามารถร้องขอซื้อคืนได้ภายในสามสิบปี นับแต่วันที่มีประกาศการเวนคืน เว้นแต่ อสังหาริมทรัพย์ที่ถูกเวนคืนดังกล่าวจะถูกประกาศเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในวัตถุประสงค์ใหม่ โดยถ้า หากมีการขายคืนทรัพย์สินที่ถูกเวนคืนให้เจ้าของเดิมหรือทายาทมีสิทธิซื้อคืนอสังหาริมทรัพย์ได้ก่อน การคำนวนราคาในการซื้อขายนั้นให้ใช้กฎเกณฑ์เดียวกับการที่ได้เวนคืนมา และให้ทำสัญญาซื้อคืน และชำระราคาในกรณีที่ตกลงราคากันโดยวิธีเจรจาปลองดองหรือการกำหนดราคาโดยคำพิพากษา ของศาล ทั้งนี้หากมิได้ปฏิบัติตามนี้ให้ถือว่าการซื้อคืนไม่มีผล (วิบูลย์ กัมมาระบุตร, 2533) ได้กล่าวถึง เงื่อนไขการซื้อคืนตามที่กฎหมายกำหนดและกระบวนการในการซื้อคืนหรือให้เช่าไว้ดังนี้ 4. เงื่อนไขในการซื้อคืนตามที่กฎหมายกำหนด พิจารณาตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ให้ผู้ถูกเวนคืนสามารถซื้อคืนทรัพย์สินได้ซึ่งระบุไว้ในข้อ กฎหมาย ดังนี้ เงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลา สามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภท ประกอบไปด้วย 1. เงื่อนไขเกี่ยวกับระยะ เวลาที่ต้องการใช้ตามวัตถุประสงค์โดยรัฐมีระยะเวลาในการนำ 6 Article L12-6 Si les immeubles expropriés en application du présent code n'ont pas reçu dans le délai de cinq ans la destination prévue ou ont cessé de recevoir cette destination, les anciens propriétaires ou leurs ayants droit à titre universel peuvent en demander la rétrocession pendant un délai de trente ans à compter de l'ordonnance d'expropriation, à moins que ne soit requise une nouvelle déclaration d'utilité publique. Lorsque ces immeubles étaient des terrains agricoles au moment de leur expropriation et que les collectivités expropriantes décident de procéder à leur location, elles doivent les offrir, en priorité, aux anciens exploitants ou à leurs ayants droit à titre universel s'ils ont participé effectivement à l'exploitation des biens en cause durant les deux années qui ont précédé l'expropriation, à condition que les intéressés justifient préalablement être en situation régulière, compte tenu de la location envisagée, au regard du titre VII du livre Ier du code rural. Lorsque ces terrains sont rétrocédés, les anciens propriétaires ou leurs ayants droit à titre universel disposent d'une priorité pour leur acquisition. L'estimation de leur valeur de vente se fera suivant les mêmes normes que pour les expropriations. Ils doivent, dans ce cas, et dans le mois de la fixation du prix soit à l'amiable, soit par décision de justice, passer le contrat de rachat et payer le prix, le tout à peine de déchéance. Les dispositions qui précèdent ne sont pas applicables aux immeubles qui auront été acquis sur la réquisition du propriétaire en vertu des articles L. 13-10 et L. 13-11 et qui resteraient disponibles après exécution des travaux.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3