2566-2 ปวริศา ผลกล้า-วิทยานิพนธ์

48 บทที่ 4 ผลการวิจัย ในประเทศไทยซึ่งได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วนั้น ได้มีพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 13 กาหนดให้มีการจัดตั้ง “กองทุนผู้สูงอายุ” เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุ ให้มีศักยภาพ ความมั่นคง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี อีกทั้งกองทุนผู้สูงอายุ เป็นองค์กรที่ช่วยเหลือ สนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยการส่งเสริมการกู้ยืมเงินทุนประกอบ อาชีพให้ผู้สูงอายุได้ใช้ศักยภาพของตนเองอย่างมีศักดิ์ศรี และสงเคราะห์ผู้สูงอายุตามความจาเป็นขั้น พื้นฐาน การให้ทุนประกอบอาชีพ ประเภทกู้ยืมรายบุคคล และรายกลุ่มสาหรับผู้สูงอายุ เรื่องอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติกาหนดเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับประโยชน์สูงสุดตามพระราชบัญญัติ ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 11(3) กาหนดให้รัฐส่งเสริมการประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม โดยจัดสวัสดิการให้ผ่านกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อ เป็นทุนใช้จ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และสนับสนุนผู้สูงอายุ ประกอบกับประกาศคณะ กรรมการบริหารกองทุนผู้สูงอายุเรื่องหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขอื่นที่ให้การสนับสนุนทางการเงินจ าก กองทุนผู้สูงอายุ พ.ศ.2549 ข้อ 5 (3) กาหนดหลักเกณฑ์จ่ายเงินกู้ให้กับผู้สูงอายุได้กู้ยืมเพื่อเป็นทุน การประกอบอาชีพ โดยให้กู้ยืมเงินเป็นรายบุคคลได้คนละไม่เกิน 30,000 บาท โดยไม่มีดอกเบี้ย ซึ่ง เป็นการส่งเสริมและสนับสนุน ให้ผู้สูงอายุได้นาเงินไปประกอบอาชีพเพื่อพึ่งพาตนเองได้ แต่ยังพบว่ามี ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าถึงกองทุนผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นการที่จะต้องมีบุคคลมาค้าประกันเพื่อ ขอกู้ยืมเงิน กาหนดระยะเวลาการคืนเงิน วิธีการชาระเงินกู้ยืมคืนให้กับกองทุนผู้สูงอายุ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์วิเคราะห์เพื่อหาคาตอบในการพัฒนากฎหมายกองทุนการประกอบ อาชีพผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถการพึ่งพาตนเองได้ การวิเคราะห์ได้ใช้ข้อมูลจากการทบทวน วรรณกรรม การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยจะนาผลการวิเคราะห์ไปสู่การปรับปรุง แก้ไขและเพิ่มเติมกฎหมายกองทุนการประกอบอาชีพผู้สูงอายุ ได้กาหนดประเด็นที่วิเคราะห์ ดังนี้ 4.1 การค้าประกันขอกู้ยืมเงินกองทุนผู้สูงอายุเพื่อประกอบอาชีพ การจัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนผู้สูงอายุในการประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสมหรือตามทักษะที่ผู้สูงอายุนั้น มีอยู่ เพื่อการประกอบอาชีพผู้สูงอายุและการพึ่งพาตนเอง สาหรับผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเหล่านี้ได้ทางาน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุข ภาวะที่ดี มีสุขภาพจิตที่ดี และสร้างความรู้สึกด้านจิตใจว่าตนเองยังมีคุณค่า ตามแนวคิดการเห็น คุณค่าในตนเอง ผู้สูงอายุบางคนจึงยังคงมีความต้องการที่จะทางานและใช้ความสามารถของตนต่อไป เพื่อเป็นการใช้ทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์มากที่สุด ตามแนวคิดการเป็น ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ สอดคล้องกับแนวคิดการพึ่งพาตนเองของผู้สูงอายุ ที่ผู้สูงอายุสามาถดาเนินชีวิต และประกอบอาชีพ หารายได้เลี้ยงตนเองได้ โดยไม่ต้องเป็นภาระของผู้อื่น รวมถึงสอดคล้องกับทฤษฎี ด้านสังคมของผู้สูงอายุ ที่ประกอบด้วยทฤษฎีกิจกรรม ทฤษฎีแยกตนเองหรือถอยห่าง ทฤษฎีความ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3