2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ
94 2. พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยการควบคุมดู แลธุ รกิจบริ การการชาระเงิ นทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 กฎหมายฉบับนี้ตราขึ้นเพื่อเป็นการกากับดูแลธุรกิจบริการการชาระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย์ โดยการกาหนด รู ปแบบในการก ากับดู แลและจั ดแบ่ งประเภทธุ รกิ จบริ การช าระเงิ นทางอิ เล็ กทรอนิ กส์ที่ เหมาะสม โดยจัดแบ่งเป็น 3 บัญชี ได้แก่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการธุรกรรมทาง อิ เล็กทรอนิกส์ของรั ฐบาล พ.ศ. พ.ศ. 2549 มีบทบาทส าคัญในการประกันว่ าธุ รกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์กับหน่วยงานภาครัฐดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย มาตรา 35 แห่ง พระราชบัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. พ.ศ. 2544 ถือว่ามีผลทางกฎหมายเมื่อปฏิบัติตาม พระราชกฤษฎีกานี้ โดยเน้นย ้าถึงความสาคัญของการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว กฎหมายฉบับนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในภาครัฐ โดยกาหนดหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับระบบเอกสาร กระบวนการบริหารจัดการ ความปลอดภัยของข้อมูล และการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล ในทานองเดียวกันพระราชกฤษฎีกากากับดูแลธุรกิจบริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ปี 2551 มุ่งเน้นการกากับดูแลธุรกิจบริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรักษาเสถียรภาพ ทางการเงินและเชิงพาณิชย์ พระราชกฤษฎีกานี้จัดหมวดหมู่ธุรกิจเหล่านี้ออกเป็นสามบัญชีเพื่อให้ แน่ใจว่าบริการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ดาเนินไปในลักษณะที่มีการควบคุมและปลอดภัย พระราช กฤษฎีกาทั้ งสองฉบับทางานร่วมกันเพื่อสนับสนุนการเติบโตและกฎระเบียบของธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ซึ่งส่งผลดีต่อทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจในท้ายที่สุด 1) บัญชี ก ธุรกิจบริการที่ต้องแจ้งให้ทราบก่อนให้บริการ 2) บัญชี ข ธุรกิจบริการที่ต้องขอขึ้นทะเบียนก่อนการให้บริการ 3) บัญชี ค ธุรกิจบริการที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนให้บริการ ซึ่งธุรกิจบริการประเภทใดจะถูกกากับดูแลตามบัญชีใดนั้นปรากฏรายละเอียดตาม บัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกา กฎหมายฉบับนี้มีสาระสาคัญประกอบไปด้วย บททั่วไป ซึ่งกาหนดรายละเอียดของ พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ ได้แก่ ชื่อ วันที่ใช้บังคับ คานิยาม ผู้รับผิดชอบตามพระราชกฤษฎีกา ขอบเขต การบังคับใช้ และผู้รักษาการตามกฎหมาย ส่วนต่อมา คือ หมวด 1 กาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ คุณสมบัติของผู้ให้บริการทั้งสามบัญชี และรายละเอียดในการดาเนินการเพื่อแจ้งให้ทราบ ขึ้นทะเบียน หรือการขอรับใบอนุญาตก่อนการให้บริการ สาหรับหมวด 2 เป็นเรื่ องการกาหนดให้อานาจคณะกรรมกมารธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ในการประกาศกาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้บริการตามความจาเป็น และเหมาะสมกับประเภทธุรกิจ และให้อานาจธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะเป็นผู้รับผิดชอบใน การควบคุมดูแลตามพระราชกฤษฎีกาที่จะกาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้บริการ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3