2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ

116 1. การพัฒนาระบบบริหารจัดการการปล่อยชั่วคราวและนายประกันเพื่อสนับสนุน การใช้มาตรการกากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวและการบังคับคดีให้มีประสิทธิภาพ 2. สร้างมาตรฐานและระบบงานในการพิจารณาคดีทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่ทา ให้ สามารถดาเนินกระบวนพิจารณาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอานวยความยุติธรรมแก่ประชาชนได้ อย่างสะดวกรวดเร็วขึ้น 3. การให้บริการข้อมูลเชิงสถิติแก่หน่วยงานภายในและภายนอกแบบบูรณาการ (Integrated statistical information service) 4. การพัฒนาระบบสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีโดยเจ้าพนักงานคดี 5. การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 6. การพัฒนางานวิจัยที่เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาศาลยุติธรรมและระบบการ พิจารณาพิพากษาคดีให้รองรับ ความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการในอนาคต 7. แลกเปลี่ยนความรู้ด้านการบริหารองค์กรด้านกฎหมาย การตีความกฎหมาย การ วินิจฉัยคดี แนวคาพิพากษา และ การสร้างแนวปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ (Best Practice) ประการที่สาม นวัตกรรมการบริหารบุคคล เป้าหมาย บุคลากรของศาลยุติธรรมและ สานักงานศาลยุติธรรมมีความเชี่ยวชาญ มีตัวชี้วัด ข้าราชการตุลาการและข้าราชการศาลยุติธรรมที่ ได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาให้มีความรู้ทักษะสมรรถนะและความสามารถในการปฏิบัติงานรองรับ บทบาทภารกิจตามนโยบายประธานศาลฎีกา แผนยุทธศาสตร์ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด มีแนวทางการ ดาเนินการห้าขั้ นตอนนวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสาคัญอย่างยิ่ งต่อ ความสาเร็จของบุคลากรในศาลยุติธรรมและสานักงานศาลยุติธรรม ด้วยความเชี่ยวชาญ เจ้าหน้าที่ ตุลาการและข้าราชการจาเป็นต้องได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถ และความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิผล ภารกิจตามที่กาหนดไว้ใน นโยบายของประธานศาลฎีกาทาให้มั่นใจได้ว่าแผนยุทธศาสตร์ตรงตามเกณฑ์ที่กาหนด ด้วยแนวทาง ปฏิบัติห้าขั้นตอน บุคคลเหล่านี้มีอานาจในการสนับสนุนบทบาทของตน และมีส่วนร่วมในความสาเร็จ โดยรวมของระบบตุลาการ ดังนี้ 1. ส่งเสริมบทบาทของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ ศลยุติธรรม ในการ สร้างผู้เชี่ยวชาญกฎหมายเฉพาะด้าน 2. ส่งเสริมบทบาทของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ในการ พัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม และ ทักษะเฉพาะด้าน เพื่อการบริหารงานคดีและพัฒนาองค์กร

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3