2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ

119 กล่าวถึง "วิศวกรรมสังคม" ในสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละครั้งสะท้อนถึงความกลัวและความหวังในยุคนั้น โดยให้ ความกระจ่างเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่หล่อหลอมสังคมในขณะนั้น เห็นได้ชัดว่าวิศวกรรมสังคมเป็นผู้ เล่น หลักในการสร้างอนาคตที่ดีกว่าสาหรับทุกคน และยังคงมีบทบาทสาคัญในการกาหนดโลกของเราใน ปัจจุบัน เอ็ดวิน เอิร์บ ( Edwin L. Earp) ถือว่าเป็นบุคคลหนึ่งที่สร้างแนวคิดเกี่ยวกับวิศวกรรมสังคม (Social Engineering) เขาได้เขียนหนังสือชื่อว่า The Social Engineer จากแนวคิดที่ว่า “การสูญเสีย เวลาและทรัพยากรที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ไม่ใช่แค่การขาดเครื่องจักรหรือความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์กับ กองกาลังที่มีอยู่ แต่เป็นกรณีที่ไม่มีคนสามารถทางานให้กับคนอื่นได้หรือการควบคุมเครื่องจักรให้ สัมพันธ์กับประโยชน์ของสิ่งของทั้งหมดที่มีอยู่ได้โดยไม่มีแรงเสียดทานทางสังคม” เอิร์บให้เหตุผลว่า การ พัฒนาสังคมนั้นจะต้องมีการศึกษาความคิดทางสังคม, จิตใจของสังคม, การจาแนกชนชั้นทาง สังคม, การควบคุมสังคมและเน้นการศึกษาสังคมสมัยใหม่อยู่เสมอ ในหนังสือเรื่อง Machine-age ideology : social engineering and American liberalism, 1911-1939 ที่ เขี ยนโดย จอห์น จอร์แดน (John M. Jordan) ให้ข้อมูลว่าในอเมริกาประมาณสี่สิบถึงห้าสิบปีก่อนหน้านี้ ในปี 1909 อเมริกาตระหนักถึงความสาคัญในข้อที่ว่า ต้องมีการควบคุมพื้นที่กว้างมากขึ้น จึงมีการให้นัก สังคมศาสตร์ทาการสารวจภายในประเทศ การทาสงคราม และการออกแบบศูนย์กลางสาหรับการ ควบคุมอุตสาหกรรมขึ้น ต่อมาในปี 1929 ช่วงเริ่มศตวรรษเกิดภาวะเศรษฐกิจและการเมืองที่ไม่ สามารถแก้ไขได้ นักสังคมศาสตร์ได้มีการสารวจแนวคิดเรื่องวิศวกรรมสังคมและพบว่ามันไม่ได้เป็น ศูนย์กลางของ คาตอบทั้งหมดในการแก้ปัญหา ชาวอเมริกันส่วนมากลุกขึ้นต่อต้านเกี่ยวกับมุมมองที่ คับแคบของแนวคิดวิศวกรรมสังคม มีการตั้งสมมุติฐานศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดวิศวกรรมสังคมว่าเป็น การผลักดันความปรารถนาที่ไร้เหตุผลทางการเมืองจนทาให้มีปัญหาในหลายด้าน เช่น ความไม่ สมเหตุสมผล และไม่เป็นการเมืองภาคประชาชน ในปี1939 ด้วยความปรารถนาที่จะหาวิธีการ แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ให้กับชาวอเมริกัน จึงมีการจัดงาน New York World's Fair งานดังกล่าวมีความต้องการที่จะสร้างวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูทาง การเมือง งานที่เกิดจึงเป็นการ อวดแนวคิดด้านวิศวกรรม กลุ่มนักวิศวกรสังคมเชื่อว่าจะสามารถสร้าง คนยุคใหม่ที่มีความสานึก เกี่ยวกับการรวบรวมทรัพยากรได้เป็นเรื่องที่สาคัญ วิศวกรพยายามที่จะทา ให้แนวคิดดั้งเดิมเรื่องของวิสาหกิจอิสระ (Free Enterprise) ของชาวอเมริกันนั้นหมดไป โดยใช้ โรงเรียนและมหาวิทยาลัยเป็นฐานหลักสาคัญ โดยครูและอาจารย์มีหน้าที่ในร่างและจัดหลักสูตรให้มี อิทธิพลต่อทัศนคติ ความเชื่อมั่นและพฤติกรรมของคนรุ่นหลังต่อสังคม เช่นการสร้างวิชาสังคมศึกษา ( Social studies) ขึ้นมา ดังนั้นนักการศึกษาจึงเป็นทรัพยากรหลักที่สาคัญในการนาไปสู่สังคมใหม่ที่ ดีกว่ า การโยนคาถามไปยั งนักสั งคมศาสตร์ ( Social Scientists) ที่ พยามจัดตั วเองเข้ า เป็น นักวิทยาศาสตร์ มีการนาเอากรรมวิธีและแบบแผนของนักวิทยาศาสตร์มาใช้ เพื่อให้เกิดผลตามที่

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3