2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ
6 ระยะเวลาที่กาหนดโดยเคร่งครัด ซึ่งจะทาให้การจัดการคดีเยาวชนเป็นไปอย่างรวดเร็วและยุติธรรม พร้อมด้วยมาตรการเพื่อประกันการปรากฏตัวในศาล บทบัญญัติตามมาตรานี้ มิให้นาไปใช้บังคับในคดีที่ พนักงานสอบสวนเห็นว่ าคดีอาจ เปรียบเทียบปรับได้ ” ในขั้นตอนการตรวจสอบการจับในปัจจุบันยังไม่มีการนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาปรับใช้กับ ขั้นตอนนี้ แต่ถ้าหากสามารถนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาปรับใช้กับขั้นตอนนี้ ได้ จะมีประโยชน์อย่าง มาก เนื่องจากปกติแล้วเมื่อมีการจับกุมตัวเด็ก จะต้องมีการนาตัวเด็กมาศาลเพื่อตรวจสอบการจับ ภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง ซึ่งในทางปฏิบัติการเดินทางจากท้องที่บางท้องที่มีความห่างไกลเป็นอย่าง มาก ยกตัวอย่างเช่น หากจับกุมตัวเด็กได้ในพื้นที่รอบนอกของอาเภอเบตงซึ่งอยู่ห่างจากศาลเยาวชน และครอบครัวจังหวัดยะลาประมาณ 80 กิโลเมตร จะต้องนาตัวเด็กมาตรวจสอบการจับที่ศาลเยาวชน และครอบครัวจังหวัดยะลา ซึ่ งใช้เวลาเดินทางอย่างน้อยเกือบสองชั่ วโมง หากมีการนาระบบ อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ จะทาให้ลดระยะเวลาการเดินทางมาศาลในกรณีตรวจสอบการจับได้ ขั้นตอนที่ 3 การพิจารณาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูเด็กตามมาตรา 86 แห่งพระราชบัญญัติศาล เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 บัญญัติไว้ว่า “ ในคดีที่ เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิดอาญาซึ่งมีอัตราโทษอย่างสูงตามที่กฎหมายกาหนดไว้ให้ จาคุกไม่เกินห้าปี ไม่ว่าจะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม ถ้าปรากฏว่าเด็กหรือเยาวชนไม่เคยได้รับโทษ จาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ หากเด็กหรือเยาวชนสานึกในการกระทาก่อนฟ้องคดี เมื่อคานึงถึงอายุ ประวัติ ความ ประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สภาพร่างกาย สภาพจิต อาชีพฐานะ และเหตุแห่งการกระทา ความผิดแล้ว หากผู้อานวยการสถานพินิจพิจารณาเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนนั้นอาจกลับตนเป็นคนดีได้ โดยไม่ต้องฟ้อง ให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูให้เด็กหรือเยาวชนปฏิบัติและหากจาเป็นเพื่อประโยชน์ ในการคุ้มครองเด็กหรือเยาวชนอาจกาหนดให้บิดา มารดา ผู้ปกครองบุคคลหรือผู้แทนองค์การซึ่งเด็ก หรือเยาวชนอาศัยอยู่ด้วยปฏิบัติด้วยก็ได้ ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปรับเปลี่ยนความประพฤติของเด็กหรือ เยาวชนบรรเทา ทดแทน หรือชดเชยความเสียหายแก่ผู้เสียหายหรือเพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ ชุมชนและสังคม แล้วเสนอความเห็นประกอบแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูต่อพนักงานอัยการเพื่อพิจารณา ทั้งนี้ การจัดทาแผนแก้ไขฟื้นฟูบาบัดฟื้นฟูต้องได้รับความยินยอมจากผู้เสียหายและเด็กหรือเยาวชน ด้วยในกระบวนการตรวจสอบการจับปลาในปัจจุบัน ไม่มีการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์กับกระบวนการนี้ แต่หากนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ในขั้นตอนนี้ได้ก็จะมีประโยชน์มาก เพราะโดยปกติแล้วเมื่อ เด็กถูกจับได้ จะต้องนาตัวเด็กมาศาลพิจารณาภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง ในทางปฏิบัติการเดินทางจากบาง ท้องที่อยู่ไกลมาก เช่น หากเด็กถูกจับที่เขตชานเมืองเบตงซึ่งห่างจากศาลเยาวชนและครอบครัว จังหวัดยะลาประมาณ 80 กิโลเมตร จะต้องนาตัวเด็กไปตรวจสอบที่ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3