2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ
157 ประเด็น ส่วนกรณีจาเลยรับสารภาพนั้นศาลต้องพิจารณาถึงอัตราโทษว่าเป็นคดีที่จาเป็นที่จะต้องมี การสืบประกอบหรือไม่ โดยคาว่า “สืบประกอบ” นี้คือการให้โจทก์สืบพยานไปฝ่ายเดียวโดยจาเลยมี สิทธิ์ถามค้านได้แต่ไม่มีสิทธินาพยานเข้าสืบ คดีที่พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดี การนัดสอบคาให้การจะทาการสอบถามในห้องเวรชี้ (คุกศาล) ซึ่งในการสอบคาให้การเป็นเรื่องระหว่างศาลกับจาเลย หากจาเลยให้การรับสารภาพและ ศาลสั่งจาคุก ทนายความจาเลยต้องดาเนินการประกันตัวต่อไป หรือหากจาเลยไม่ได้ประกันตัวก็จะถูก ส่งตัวไปเรือนจาเพื่อรับโทษในวันดังกล่าว อย่างไรก็ดีหากจาเลยให้การปฏิเสธเพื่อต่อสู้ ศาลจะกาหนด วันนัดตรวจพยานหลักฐานต่อไป โดยในคดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ยื่นฟ้องเอง ขั้นตอนส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกับคดีที่ พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดี กล่าวคือ ในการนัดสอบคาให้การจะทาในห้องพิจารณาของศาล หากจาเลยรับสารภาพและศาลสั่งจาคุก ทนายความจาเลยต้องดาเนินการประกันตัวต่อไป หรือหาก จาเลยไม่ได้ประกันตัวก็จะถูกส่งตัวไปเรือนจาเพื่อรับโทษในวันดังกล่าวทันที หากจาเลยให้การปฏิเสธ เพื่อต่อสู้ ศาลจะกาหนดวันนัดตรวจพยานหลักฐานหากคดีมีข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานยุ่งยาก แต่ หากเป็นคดีไม่ยุ่งยาก ศาลจะกาหนดนัดสืบพยานต่อไป ในคดีอาญาในศาลเยาวชนและครอบครัว การสอบคาให้การทั้งในกรณีอัยการเป็นโจทก์ และ ผู้เสียหายยื่นฟ้องคดีเอง กระบวนการดังกล่าวมีการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์มาก่อนบ้างแต่ก็ยังไม่มี ระเบียบกาหนดไว้อย่างชัดเจน ซึ่งหากจะเปรียบเทียบกับกรณีการออกหมายขังผู้ต้องหาซึ่งมีลักษณะ ใกล้เคียงกันและมีระเบียบกาหนดไว้อย่างชัดเจน ก็คือ ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการ สอบถามผู้ต้องหาหรือทาการไต่สวนพยานหลักฐานในการออกหมายขังผู้ต้องหาในลักษณะการประชุม ทางจอภาพ พ.ศ. 2556 ซึ่งเปิดโอกาสให้มีการสอบถามผู้ต้องหาหรือทาการไต่สวนพยานหลักฐานใน การออกหมายขังผู้ต้องหาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ ซึ่งหากสามารถนามาใช้ในการสอบ คาให้การจาเลยผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ของศาลเยาวชนและครอบครัว เช่น ในกรณีที่จาเลยอยู่ ในสถานพินิจหรือห้องขังของศาล ในการสอบคาให้การจาเลยจะดารงอยู่ภายใต้หลักฟังความทุกฝ่าย กล่าวคือ ศาลจะเปิด โอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาได้โต้แย้งคัดค้าน และเปิดโอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาได้ต่อสู้และแก้ข้อกล่าวหาได้ อย่างเต็มที่ นอกจากนี้การสอบคาให้การจะใช้หลักวาจา กล่าวคือ การดาเนินการทุกอย่างต้องกระทา ด้วยวาจาจึงจะสามารถนามาประกอบการพิจารณาได้ ถึงแม้จะทาคาให้การมาเป็นหนังสือก็จะต้อง ตรวจสอบด้วยวาจาอีกครั้ง เพราะการตรวจสอบด้วยวาจาเปรียบเสมือนการเปิดโอกาสให้อธิบาย ถึง การกระทาของจาเลย เช่น จาเลยปฏิเสธว่าไม่ได้ทา ไม่ได้ทาเพราะเหตุผลอะไร จาเลยจะได้มีโอกาส ได้อธิบายถึงเหตุผลของตัวจาเลยเอง หรือกรณีที่รับสารภาพ จาเลยได้ได้อธิบายถึงเหตุผลที่ได้มีการ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3