2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ

39 จากคาจากัดความข้างต้น จุดร่วมอย่างหนึ่งที่พบได้จากแนวคิดประโยชน์สูงสุดของเด็ก คือ หลักการดังกล่าวนี้ไม่ได้ถูกจากัดไว้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาสาหรับเด็กและเยาวชนเสมอ ไปแต่ยังมีขอบเขตไปถึงการกระทาต่าง ๆ ของรัฐ ทั้งในด้านบริหารและนิติบัญญัติอีกด้วย ซึ่งแม้ว่าการ ให้คาจากัดความข้างต้นจะไม่ได้มีการกาหนดรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการโดยสมบูรณ์ไว้อย่าง เป็นรูปธรรมในตัวบทกฎหมายใด ๆ แต่ก็อาจสรุปใด้ว่า ประโยชน์สูงสุดของเด็กนั้นคือการพิจารณาถึง ความผาสุกแก่เด็กในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็น ด้านกายภาพ สุขภาพ และสถานะทางสังคม แนวทางการพิจารณาประโยชน์สูงสุดสาหรับเด็ก แม้ว่าในตัวบทกฎหมายทั้งที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายภายในจะไม่ได้มี การให้ คาจากัดความของประโยชน์สูงสุดสาหรับเด็กเอาไว้อย่างชัดเจน ซึ่งทาให้การนามาใช้จึงต้อง ปรับเปลี่ยนไปตามข้อเท็จจริงที่มีความแตกต่างกันเป็นกรณีไป โดยการพิจารณาประโยชน์สูงสุด สาหรับเด็กนั้นอาจถูกแบ่งได้ เป็น 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางแรก ประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นข้อพิจารณาที่สาคัญที่สุด (The Paramount Consideration) แนวทางนี้ จะพิจารณาถึงสิ่ งที่ เป็นประโยชน์สูงสุดของเด็กเพียงสิ่ งเดียวที่ มี ความสาคัญอย่างแท้จริง โดยจะทาการพิจารณาคัดเลือกประกอบกับโอกาสและสิ่งอานวยความ สะดวกที่เป็นไปได้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณและสังคมแวดล้อมของเด็ก โดยแนวทางนี้ได้ ปรากฏในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อ 21 ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการรับบุตรบุญธรรม"ผลประโยชน์ สูงสุดของเด็กคือการพิจารณาที่สาคัญที่สุด (การพิจารณาสูงสุด)" เป็นแนวคิดสาคัญที่ให้ความสาคัญ กับความต้องการของเด็กและความเป็นอยู่ที่ดีเหนือสิ่งอื่นใด แนวทางนี้ช่วยให้มั่นใจได้ว่าการตัดสินใจ เกี่ ยวกับอนาคตของเด็กจะกระทาโดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของพวกเขา โดยคานึงถึง สภาพแวดล้อมทางร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ และทางสังคมของพวกเขา มาตรา 21 ของอนุสัญญา ว่าด้วยสิทธิเด็กเน้นย ้าหลักการนี้ โดยเฉพาะในบริบทของการรับเลี้ยงบุตรบุญธรรม ด้วยการให้ ความสาคัญกับสวัสดิภาพของเด็กเหนือสิ่งอื่นใด เราสามารถสร้างโลกที่เด็กทุกคนสามารถเข้าถึง โอกาสและสิ่งอานวยความสะดวกที่จะช่วยให้พวกเขาเจริญเติบโตและเข้าถึงศักยภาพสูงสุดของตนได้ แนวทางที่สอง ประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องคานึงถึงเป็นลาดับแรก (A Primary Consideration) แนวทางนี้จะเน้นไปที่การพิจารณาถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นลาดับแรก แต่ไม่ ถูกจากัดเพียงลาดับเดียว ซึ่งต้องพิจารณาประกอบกับปัจจัยอื่นที่เท่าเทียมกัน และใช้วิธีการที่ เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของเด็กแต่ละรายไป การพิจารณาตามแนวทางนี้จะมีลักษณะยืดหยุ่นกว่า แนวทางแรกและเหมาะสมที่จะนามาใช้ในกรณีที่เกิดความขัดแย้งเกี่ยวกับสิทธิของบิดามารดากับเด็ก หรือเกิดความขัดแย้งระหว่างประโยชน์ของรัฐและประโยชน์ของเด็ก เป็นต้น แนวทางนี้ปรากฏอยู่ใน อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กข้อ 3.1 ซึ่งได้กาหนดถึงการกระทาทั้งปวงที่เกี่ยวกับเด็กไม่ว่าจะกระทาโดย สถาบันทางสังคมสงเคราะห์ของรัฐหรือ เอกชน ศาลยุติธรรม หน่วยงานฝ่ายบริหาร หรือองค์กรนิติ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3