2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ

62 ความผิดตามที่กล่าวหานั้น ผู้ถูกกล่าวหาจะต้องได้รับการชี้ขาดข้อเท็จจริง 2 ชั้น คือ ชั้น พนักงาน อัยการและศาล ซึ่งในการชี้ขาดข้อเท็จจริงทั้งสองชั้นนี้ พนักงานอัยการและศาลจะต้องฟังข้อเท็จจริง ทั้งฝ่ายผู้กล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหา ไม่ใช่ว่าจะฟังเพียงแค่ฝ่ายผู้กล่าวหาเท่านั้น แล้วไป ซักฟอกเอา ความผิดจากผู้ถูกกล่าวหา โดยไม่คานึงถึงข้อแก้ตัวของผู้ถูกกล่าวหาแต่อย่างใด หลักฟังความทุกฝ่ายนี้ จะทาให้ผู้ถูกกล่าวหาได้รับการประกันสิทธิที่จะมีโอกาสต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่ เพราะศาลจะต้องรับฟัง พยานของฝ่ายผู้กล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหา ซึ่งในประมวลวิธีพิจารณาความอาญาของ ไทยมีในมาตรา 134 และ 172 ที่ให้โอกาสจาเลยในการต่อสู้คดี สาหรับการดาเนินคดีในชั้นสอบสวนฟ้องร้องนั้นการ รวบรวมพยานหลักฐานจะต้องกระทาเพื่อพิสูจน์ความผิด มิใช่เพื่อการฟ้องร้อง การสอบสวนก็เปิด โอกาสให้การแก้คดี และถือหลักว่าต้องสอบสวนผู้ต้องหา แจ้งข้อหาให้ทราบ ตามมาตรา 134 การ พิจารณาและสืบพยานจะต้องกระทาต่อหน้าจาเลย ตามมาตรา 172 2.3.6.2 หลักวาจา หลักวาจา หมายถึง การดาเนินการทุกอย่างจะต้องกระทาด้วยวาจา จึงจะสามารถ นามา ประกอบการพิจารณาพิพากษาได้ การให้การเป็นหนังสือต้องตรวจสอบด้วยวาจากันอีกครั้ง การ สืบพยานก็ต้องทาด้วยวาจาและเฉพาะสิ่งที่ได้จากการกระทาด้วยวาจากันมาแล้วเท่านั้นที่จะยก มาวินิจฉัยคดีได้ กล่าวคือทุกอย่างต้องต้องตรวจสอบด้วยวาจาก่อน เป็นการเปิดโอกาสให้อธิ บาย เพื่อให้มีความเข้าใจในทุกกรณีซึ่งจะทาให้อานวยความยุติธรรมได้ดี หากขาดความเข้าใจก็ไม่สามารถ อานวยความยุติธรรมที่ดีได้ ซึ่งหลักนี้ตรงกันข้ามกับหลักลายลักษณ์อักษรซึ่งศาลจะพิจารณาข้อความ ที่เขียนไว้ในสานวนเท่านั้น หลักวาจานี้ศาลจะรับฟังพยานหลักฐานที่ปรากฏในสานวนคดีเท่านั้นและ จะนาข้อเท็จจริงนอกสานวนมาวินิจฉัยไม่ได้ แม้ว่าข้อเท็จจริงนั้นจาเลยจะยอมให้นามาเป็นพยานก็ ตาม หลักวาจานี้ใช้เฉพาะการที่ศาลพิจารณาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความผิด ผู้กระทา ความผิดและ สภาพบังคับ ส่วนการพิจารณาของศาลเกี่ยวกับข้อเท็จจริงในเรื่องอื่น ๆ ไม่จาเป็นต้อง กระทาด้วย วาจา เช่น ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเงื่อนไขระงับคดี มาตรา 39 ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับเงื่อนไข การลงโทษ เป็นต้นหลักวาจาในระบบตุลาการเน้นย ้าถึงความสาคัญของการสื่อสารด้วยวาจาในทุก ด้านของคดี ตั้งแต่การกระทาไปจนถึงคาให้การ ทุกอย่างจะต้องพูดชัดแจ้งเพื่อให้แน่ใจว่ามีการ ตรวจสอบอย่างละเอียด โดยการปฏิบัติตามหลักการนี้ ศาลจะรับรองว่าความยุติธรรมจะได้รับการ จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากความเข้าใจเป็นกุญแจสาคัญในการตัดสินใจอย่างมีข้อมูล หลักการนี้ตรงกันข้ามกับหลักการที่เป็นลายลักษณ์อักษร เนื่องจากศาลพิจารณาเฉพาะหลักฐานที่ นาเสนอด้วยวาจาในคดีเท่านั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่ศาลจะต้องยึดถือข้อเท็จจริงที่นาเสนอในคดี โดยไม่ พิจารณาข้อมูลจากแหล่งภายนอก หลักการปากเปล่าช่วยให้มั่นใจได้ว่าทุกรายละเอียดได้รับการ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3