2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ

82 2) กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์(Electronic Signatures Law) เพื่อ รับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือ ชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกาหนดให้มีการ กากับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3) กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียม กัน (National Information Infrastructure Law) เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ ทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสาคัญอื่น ๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน สาคัญในการ พัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่ งรองรับเจตนารมณ์สาคัญประการหนึ่ งของ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่า เทียมกัน และนับเป็นกลไกสาคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล ้าของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อ สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนาไปสู่สังคม แห่งปัญญา และการเรียนรู้ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นาโดยศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ในฐานะสานักงานเลขาธิการ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ได้ดาเนินโครงการที่ก้าวล ้าเพื่อพัฒนากฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการนี้ เกี่ยวข้องกับการศึกษาและร่างกฎหมายสาคัญ 6 ฉบับ ได้แก่ กฎหมายว่ าด้วยธุ รกรรมทางอิ เล็กทรอนิกส์ ซึ่ งรับรองความถูกต้องตามกฎหมายของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเพิ่มความมั่นใจในธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ ยังมีการสร้างกฎหมายเพื่อส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านข้อมูลและความเท่า เทียมกันอย่างครอบคลุม ซึ่งท้ายที่สุดจะนาไปสู่สังคมที่ชาญฉลาดยิ่งขึ้นและการกระจายข้อมูลอย่าง เท่าเทียมกัน ความพยายามเหล่านี้มีความสาคัญในการสนับสนุนการพัฒนาสังคมและลดความไม่เท่า เทียมกันภายในชุมชน 4) กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล(Data Protection Law) เพื่อ ก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผยหรือ เผยแพร่ถึงบุคคลจานวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจ ก่อให้เกิดการนาข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคานึงถึงการ รักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความ มั่นคงของรัฐ 5) กฎหมายที่ มีการเกี่ ยวข้องกับการกระทาความผิดที่ เกี่ ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) เพื่อกาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบการ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3