2566-3 -รัชวุฒิ ช่อดอก- การค้นคว้าอิสระ

84 การดาเนินงานของรัฐ และยังรับรองสถานะทางกฎหมายของลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้ในการ ยืนยันตัวบุคคลเอาไว้ด้วยเพื่อให้ลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นมีสถานะเช่นเดียวกับลายมือ ชื่อธรรมดาของมนุษย์ เพื่อเอื้อประโยชน์และก่อให้เกิดความมั่นใจอย่างเต็มที่ในการทาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ดังนั้นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หลักในการดาเนินโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศและการร่างกฎหมายทั้ง 6 ฉบับ คณะกรรมการจึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ จานวน 6 คณะ คณะอนุกรรมการเหล่านี้ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญจากสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาการ คอมพิวเตอร์ การเงิน ธนาคาร และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง บุคคลเหล่านี้จะทางานร่วมกันเพื่อ พิจารณาการร่างกฎหมาย รวมถึงพระราชบัญญัติเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทาง อิ เล็กทรอนิ กส์ และลายเซ็นอิ เล็ กทรอนิกส์ ด้วยการรับรองสถานะทางกฎหมายของข้ อมูล อิเล็กทรอนิกส์และลายเซ็น กฎหมายเหล่านี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกและสร้างความ มั่นใจอย่างเต็มที่ในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์สาหรับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง แม้มีการรับรองสถานะทางกฎหมายทั้งของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ไว้ในฉบับเดียวกัน ซึ่งเป็นกฎหมายฉบับแรกที่มีการยกร่างแล้วเสร็จ คือ กฎหมาย เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ แต่หลักการสาคัญเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นได้แยกไว้ ในกฎหมายฉบับที่สองที่ยกร่างขึ้น คือ กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้กฎหมายทั้ง สองฉบับมีความเป็นอิสระแยกจากกัน เพราะแม้ว่ากฎหมายฉบับแรกจะรองรับสถานะทางกฎหมาย ของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ไว้ด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ก็เป็นเพียงการบัญญัติรองรับไว้เพื่อให้เกิดความ สะดวกต่อการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ในกรณีที่กฎหมายรับรองให้ลงลายมือชื่อเท่านั้น แต่ หลักการสาคัญของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์จะไปกาหนดไว้ในกฎหมายฉบับที่สองโดยจะครอบคลุม หลักการสาคัญในการยืนยันตัวบุคคลและตรวจสอบตัวบุคคลทั้งโดยวิธีการที่ไม่ซับซ้อนและไม่ซับซ้อน ซึ่งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อพิจารณายกร่างกฎหมาย เห็นว่าน่าจะมีการกาหนดหลักการสาคัญ ของการใช้เทคโนโลยีที่นิยมใช้ทั้งในปัจจุบันและคาดว่าน่าจะยังคงนิยมใช้ในอนาคตอีกนานเอาไว้ด้วย เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการใช้บังคับกฎหมายซึ่งผ่านการพิจารณาของฝ่ายนิติบัญญัติเพราะมีการตรา หลักการสาคัญไว้ในกฎหมายครบถ้วน อนึ่ง กฎหมายทั้งสองฉบับเป็นกฎหมายทั้งสองฉบับที่รัฐบาลในช่วงนั้นเร่งรัดผลักดัน เพื่อให้มีผลใช้บังคับโดยเร็วเพราะนับเป็นโครงสร้างพื้นฐานสาคัญเพื่อเอื้อประโยชน์และส่งเสริม สนับสนุนต่อการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และด้วยเนื้อหาของกฎหมายซึ่งอาจค่อนข้างยากต่อ การทาความเข้าใจในเบื้องต้นเนื่องจากอิงอยู่กับพื้นฐานของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีประกอบกับ ข้อจากัดของการใช้ศัพท์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นศัพท์ที่บัญญัติขึ้นมาใหม่ โดยเฉพาะคาที่มีความหมายในทาง เทคโนโลยี แม้บางคาจะมีการแปลไว้ในศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถานแล้ว แต่ก็ไม่ได้มีการอธิบาย

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3