2566-3-สุพิชญา มูสิกะศิริ-วิทยานิพนธ์

112 พยายามส่วนตั ว 26 ท รัพย์สินที่พระภิกษุสงฆ์ได้มาในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะสมาชิกของ องค์กรทางศาสนา เช่น รายได้จากการบริจาคหรือถวายแด่วัด โดยทั่วไปเป็นขององค์กรทางศาสนา ซึ่งรวมถึงสิ่งของต่างๆ เช่น อาคารวัด ที่ดิน และโบราณวัตถุทางศาสนา เป็นทรัพย์สินของวั ด 27 กรณี ของขวัญที่มอบให้กับพระภิกษุในฐานะปัจเจกบุคคล แม้ว่าจะมอบให้เป็นเกียรติแก่การรับใช้ทาง ศาสนา แต่ก็ถือเป็นทรัพย์สินส่วนตัวของพระภิกษุสงฆ์โดยทั่วไป อย่างไรก็ตาม หากของกํานัลนั้นมี วัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของวัดหรือองค์กรทางศาสนาอย่างชัดเจน ก็อาจถือเป็นทรัพย์สินของวั ด 28 จึงกล่าวได้ว่า พระราชบัญญัติบรรษัทศาสนาของญี่ปุ่น ( 宗教法人法 ) มิได้กำหนดเรื่องกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เป็นสังหาริมทรัพย์ที่พระสงฆ์ได้มาในช่วงระยะเวลาสงฆ์ โดยเฉพาะ ต้องนำหลักการเรื่องทรัพย์สินในประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่นทั่วไปมาใช้ 2.15.3.2 การบริหารจัดการทรัพย์สินของวัดในประเทศญี่ปุ่น ประเด็นนสถานะของวัดมีสถานะเป็นนิติบุคคล ในกิจกรรมที่ไม่แสวงหากำไร มีวัตถุประสงค์ของการตรา พระราชบัญญัติบรรษัทศาสนาของญี่ปุ่น ( 宗教法人法 )เพื่อส่งเสริม อาสาสมัครอันจะเป็นประโยชน์แก่สังคมโดยส่วนรวมและเพื่อส่งเสริมให้องค์กรเอกช น 29 ( วรุตม์ อรุมชู ตี, 2563) ประเด็นการบริหารจัดการทรัพย์สินของวัด เป็นการรวมตัวกันของบุคคลที่มี ความประสงค์ที่จะก่อตั้งองค์กรทางศาสนาเป็นกรรมการวัด โดยจะต้องมีคุณสมบัติเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ 26 Civil Code Article 549Gifts become effective by the manifestation of intention by one of the parties to give a certain property to the other party gratuitously, and the acceptance of the other party thereof 27 Civil Code Article 181Possessory rights may be acquired through an agent. 28 Civil Code Article 176The creation and transfer of a real right becomes effective solely by the manifestations of intention of the parties. 29 Religious Corporations Act, 1951 Article 2 . The term "Religious organization" as used in this Act means any of the organizations listed below whose primary purposes consist in the dissemination of religious teachings, the conduct of ceremonies and functions, and the education and nurture of believers: (i)a shrine (jinja), temple (ji-in), church (kyokai), monastery or convent (shudo-in) having an establishment(s) for worship, or any other similar organization; or (ii)a denomination (kyoha, shuha or kyodan), church (kyokai), order (shudo-kai), or diocese or district (shikyo-ku) which comprises any of the organizations listed in the preceding item, or any other similar organization.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3