รายงานประจำปี2552

O12 รัฐบาล หน่วยงานในส่วนกลาง สนับสนุนงบประมาณจ�ำนวนมากในการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถผลิตผลงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการและการชี้น�ำ การพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้ O13 มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ สามารถก�ำหนดระเบียบข้อบังคับ ประกาศ ที่สนับสนุน งานวิจัยอย่างเหมาะสมกับทิศทางการพัฒนาการวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการและชี้น�ำการพัฒนา ในพื้นที่ภาคใต้ ประเทศ และประชาคมอาเซียน ภัยคุกคาม (Threats) T3 ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ท�ำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการท�ำวิจัยส่งผล ให้จ�ำนวนงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการและชี้น�ำการพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้ ประเทศมีน้อย T4 นโยบายทางการเมือง มีการเปลี่ยนแปลงทางการพัฒนาในพื้นที่บ่อยครั้ง ท�ำให้ทิศทางและการสนับสนุน งบประมาณวิจัย การพัฒนาในสังคม ชุมชนในพื้นที่ไม่แน่นอน ส่งผลให้งานการบริการวิชาการ การพัฒนาบุคลากรในพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมภาคใต้ไม่ยั่งยืนด้านบริการวิชาการ จุดแข็ง (Strengths) S5 สภามหาวิทยาลัยก�ำหนดเป็นนโยบายหลักของมหาวิทยาลัยโดยคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยให้ ความส�ำคัญในการขับเคลื่อนทางยุทธศาสตร์อย่างจริงจังและมอบหมายให้คณะนิติศาสตร์จัดบริการ วิชาการแก่สังคมและชุมชนโดยเฉพาะคลีนิกกฏหมายและการให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ ประชาชนในพื้นที่ S6 มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญ และองค์ความรู้ที่โดดเด่นในระดับภาคใต้ที่สามารถพัฒนาเป็นองค์กรที่ ให้บริการวิชาการแก่สังคม ในการให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ประชาชนในระดับพื้นที่ และ ระดับภูมิภาค ประเทศและอาเซียน S7 มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ที่สามารถจัดบริการทางวิชาการให้กับชุมชนในพื้นที่ จังหวัด ภาคใต้ และได้รับการยอมรับจากสังคมในพื้นที่ จุดอ่อน (Weaknesses) W11 ขาดนโยบาย เป้าหมาย จุดยืนที่ชัดเจนในการเสริมสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ ขาดระบบ การจัดการรายได้จากการบริการวิชาการจากส่วนงาน หรือคณาจารย์ รูปแบบ กลไกในการบริการ วิชาการที่มียังไม่สามารถแข่งขันได้กับตลาดภายนอกที่รุกเข้ามาทั้งจากมิติภายในประเทศ และ นานาชาติ ขาดการสื่อสารภาพลักษณ์ และการบริหารการตลาดเชิงวิชาการ ยังมีลักษณะการตั้งรับ ยังเข้าไม่ถึงกลุ่มเป้าหมายที่สามารถสร้างความได้เปรียบและโอกาสที่จะตัดสินใจเลือกใช้บริการ วิชาการจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ W12 ขาดระบบการบริหารการบริการวิชาการ ที่มีคุณค่า มูลค่าที่สามารถสร้างแรงดึงดูดใจในการบริการ วิชาการที่สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงต่อชุมชน จนเป็นที่ยอมรับจากชุมชน W13 ทัศนคติการบริการวิชาการมุ่งสนองตอบต่อตัวบ่งชี้ของระบบการประกันคุณภาพการศึกษายัง ไม่สามารถชี้น�ำการพัฒนาให้กับชุมชนได้ โอกาส (Opportunities) O14 มีพันธมิตรและเครือข่ายในท้องถิ่นใต้ที่มีองค์ความรู้ ที่เข้มแข็งมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการของ มหาวิทยาลัย (โครงการพระราชด�ำริฯ +ศอบต.+ตชด.+อบต.+เทศบาล) ซึ่งสามารถ บูรณาการ ความร่วมมือในการสร้างสรรค์วิชาการให้ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและประเทศได้ Annual Report 2557 Faculty of Law Thaksin University 14

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3