หนังสือ คำอธิบายกฎหมาย สำหรับพยาบาล

150 หนังสือกฎหมายสำหรับพยาบาล 3.2 ประเมินอาการและอาการแสดงของปัญหาที่พบบ่อย และหาทางแก้ไข (เช่น คลื่นไส อาเจียน ความปวด เป็นต้น) ภายหลังการได้รับยาระงับความรู้สึก 3.3 วางแผนการให้การพยาบาลได้อย่างถูกต้องภายหลังการให้ยาระงับความรูสึก 3.4 แก้ไขอาการหนาวสั่น (Shivering) ภายหลังออกจากห้องผ่าตัด โดยให้เครื่องทำ ความอุ่น 4) ตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต 4.1 ตัดสินใจแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการพยาบาลด้านการระงับความรู้ สึกในทุก สถานการณ์ 4.2 รายงานปัญหาวิกฤตที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยให้วิสัญญีแพทย์และ/หรือแพทย์ที่ทำ หัตถการทราบเพื่อหาทางแก้ไข 4.3 ตัดสินใจแก้ไขปัญหาฉุกเฉินที่เกิดจากความขัดข้องของเครื่องมืออุปกรณ์ทาง การแพทย์ 4.4 ตัดสินใจแก้ไขปัญหาอุบัติการณ์ ที่อาจเพิ่มอัตราเสี่ยงแก่ผู้ป่วยภายในขอบเขต หน้าที่ 4.5 บอกความผิดปกติของจังหวะชีพจรได้ 5) กระทำหัตถการ 5.1 เปิดทางเดินหายใจให้โล่งในผู้ป่วยหมดสติได้ ทุกวิธี head tilt (ท่าเงยศีรษะ) jaw thrust (ยกขากรรไกร) ใช้ oral or nasal airway (ท่อเปิดทางเดินหายใจทางปากหรือทางจมูก) 5.2 ใส่ท่อช่วยหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ (วินิจฉัยได้ว่าอยู่ในหลอดลมคอ) 5.3 เปิดหลอดเลือดดำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.4 ให้ยาระงับความรู้สึกทั่วตัว (GA) ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 5.5 ทำการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น (BLS) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.6 ร่วมทีมช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูงได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ (ACLS) 6) ประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพและทีมงานวิสัญญี 6.1 ประสานงานกับวิสัญญีแพทย์และ/หรือแพทย์ที่ทำหัตถการ 6.2 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่นอกหน่วยงาน 6.3 มีปฏิสัมพันธ์กับวิสัญญีแพทย์ วิสัญญีพยาบาล และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เดียวกัน 7) สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติ 7.1 เอาใจใส่ความรู้สึกนึกคิดที่ผู้ป่วยและญาติบอกเล่า ขอร้อง พร้อมกับตอบสนอง ความต้องการ ความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติในขอบเขตที่สมควร 7.2 ประคับประคองสภาพจิตผู้ป่วยและญาติ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3