วารสาร วิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
และเสรีภาพของบุคคลอื่น ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติ เสียภาษีอากร เป็นต้น ดังข้อความที่ปรากฏในวรรณกรรม เช่น “เกิดมาเป็นมนุษย์ให้สุจริต อย่าได้คิดทรยศต่อกฎหมาย” 10 “อยู่ตามกฎรัฐธรรมนูญให้เพิ่มพูนสูงศักดิ์ เป็นหลักใหญ่” 11 “เราเป็นไทยต้องสมัครรักชาติไทยเอาใจใส่ต่อชาติศาสนา” 12 และหลายเรื่องหลากรสที่กล่าวถึงหน้าที่ของพลเมือง ดังนี้ หนึ่งกฎหมายมีมาเดิม ใช่แสร้งแกล้งเสริม ต่อเติมโทษให้ภายหลัง ถูกผิดย่อมไม่ปิดปัง ต้องคอยระวัง อย่าพลั้งผิดบทกฎหมาย อันนี้สิทธิหญิงชาย เนื่องในกฎหมาย ย่อมได้เสมอภาคกัน สองกิจประเทศเขตขัณฑ์ ราษฎร์รัฐจัดชั้น ทั่วกันได้รับปรับปรุง การงานแห่งรัฐบ�ำรุง สมัครหมายมุ่ง ผดุงชีวีปรีดา เสมอภาคในการรับภาร์ กิจราชตามตรา พระราชบัญญัติจัดวาง สามอากรเป็นหลักกลาง ทุกคนจักอ้าง ขัดขวางการเสียภาษี เสมอภาคสิ่งนี้ยังมี จ�ำต้องยินดี หน้าที่นี้จึงชอบเชิง เพราะเพื่อบ�ำรุงส�ำเริง แห่งรัฐด�ำเกิง ถูกเชิงแห่งความเจริญ สี่ประเทศชาติจักเมิน ผิดลู่ทางเดิน ก็เหินห่างจากรุ่งเรือง ฉนั้นบรรดาพลเมือง เสมอภาคเนื่อง 10 แดง ประพันธ์บัณฑิต, มงคลประชาราษฎร์. (ม.ป.ท,ม.ป.ป.), น. 2 11 อินทร์ ทองอยู่, ศีลห้าภาษิต, พิมพ์ครั้งที่ 3, (พัทลุง : โรงพิมพ์ครูชาญ, 2504), น. 26 12 แหล่งเดิม. วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 กรกฎาคม 2561 - มิถุนายน 2562 10
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3