วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
เป็นการซัดทอดการกระท�ำความผิดนี้ ไม่ถูกห้ามรับฟังในการพิสูจน์ความผิด ของผู้ร่วมกระท�ำความผิดคนอื่นแต่อย่างใด เนื่องจากถ้อยค�ำเหล่านั้นไม่ได้ ถูกน�ำมาใช้รับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีที่ผู้ให้ถ้อยค�ำเป็นผู้กระท�ำ อย่างไรก็ดี พยานประเภทนี้จะมีน�้ำหนักมากน้อยเพียงใดคงต้องไปพิจารณาตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ภาค 5 ว่าด้วยพยานหลักฐานต่อไป 29 บทสรุป แม้ว่าวัตถุประสงค์ของการมีกระบวนการยุติธรรมทางอาญาส�ำหรับเด็ก และเยาวชนที่เป็นผู้กระท�ำความผิดของทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย มีเป็นอย่างเดียวกัน แต่กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที่ส�ำคัญ เช่น อ�ำนาจศาลและ การสอบสวนในคดีอาญาประเภทต่าง ๆ ยังมีความแตกต่างกันอยู่บ้างพอสมควร ในทัศนะของผู้เขียน ผู้เขียนเห็นว่าการก�ำหนดประเภทของพยานหลักฐาน ในความผิดอาญาร้ายแรงที่เด็กหรือเยาวชนเป็นผู้กระท�ำความผิดในประเทศไทย นั้นเป็นประเด็นที่ควรพิจารณาต่อไป ทั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและ พัฒนากระบวนการยุติธรรมทางอาญาส�ำหรับเด็กและเยาวชนของประเทศไทย ให้ด�ำเนินการได้จนบรรลุวัตถุประสงค์อย่างสมบูรณ์ 29 สมชัย ฑีฆาอุตมากร (2555). พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและ ครอบครัว พ.ศ. 2553 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์พลสยาม พริ้นติ้ง. หน้า 193. วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม 2560 - มิถุนายน 2561 36
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3