รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้งที่-1-ภายใ
264 ความผิดฐานลักทรัพย์ : ศึกษากรณีความเป็นไปได้ในการกาหนด ให้เป็นความผิดต่อส่วนตัว Offenses of theft: a case study of the possibility of defining to be a personal offense ธนาโชติ ศรีแก้ว 1 ธวัธชัย จันทร์ทิพย์ 1 ธัญรดี ธนะนิมิตร 1 ณัฐพงศ์ จันทร์คง 1 ธนาวิทย์ นุ่นขาว 1 และสนัน ยามาเจริญ 2 Thanachod Srikaew 1 , Thawatchai Janip 1 , Thanradee Thananimit 1 , Nattapong Jankong 1 , Tanawit Noonkhow 1 , and Sanan Yamacharoen 2 บทคัดย่อ ความผิดฐานลักทรัพย์เป็นความผิดต่อแผ่นดินแต่มาตรา 71 วรรคสอง ได้ยกเว้นว่าหากการ ลักทรัพย์ในระหว่างบุพการีกับผู้สืบสันดาน พี่น้องด้วยกันเป็นความผิดอันยอมความได้แต่ในความเป็นจริง แล้วการยอมความในความผิดลักทรัพย์ได้เกิดขึ้นเป็นปกติลักษณะอยู่นอกเหนือการรับรองของกฎหมาย คณะผู้วิจัยจึงเห็นว่าหากได้ทาการศึกษาสารวจความคิดเห็นกรณีดังกล่าวอาจทาให้ได้คาตอบของปัญหา ที่ว่าความผิดฐานลักทรัพย์สามารถกาหนดให้เป็นความผิดอันยอมความได้หรือไม่ การวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับมูลค่าของทรัพย์ที่ถูกลักกับการตัดสินใจในการ ดาเนินคดี 2) เพื่อศึกษาถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุผลที่เป็นปัจจัยของการยอมความและให้อภัยแก่ ผู้กระทาผิดลักทรัพย์ โดยใช้เครื่องมือในการศึกษาเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของนิสิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา จานวน 300 คนเป็นประชากรการศึกษา และนามาวิเคราะห์ สรุปผล ผลการศึกษาพบว่า (1) มูลค่าของทรัพย์ที่ถูกลักมีราคามากหรือน้อยมีผลต่อการดาเนินคดี หรือ 1 นักศึกษาปริญญาตรี, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา, สงขลา 90000 2 อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา, สงขลา 90000 1 Undergraduate student, Faculty of Law Thaksin University Songkhla Student, 90000 2 Lecturer at Faculty of Law Thaksin University Songkhla, Songkhla, 90000 * Corresponding author: E-mail address: lovebenz_555@hotmail.com
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3