รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-1
ความเหมาะสมของการกาหนดสิทธิการตายของไทย ภายใต้ความแตกต่างของการ ดูแลแบบประคับประคอง และการุณยฆาต Rights of Death in Thailand, Case Study of: The difference between palliative care and euthanasia วรรธน์ชนก เพชรรัตน์ 1 อัมพิกา เกื้อช่วย 1 และอมรรัตน์ อามาตเสนา 2 WatchanokPetrat 1 , AmpikaKueachuai 1 , AmonratAmmartsena 2 บทคัดย่อ บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการกระทาการุณยฆาตและสิทธิใน การตาย ศึกษาความเหมาะสมและความแตกต่างของการดูแลแบบระคับประคองและการการุณยฆาต และ เปรียบเทียบกฎหมายที่กาหนดสิทธิการตายของกฎหมายไทยและกฎหมายการดูแลแบบประคับประคองนั้นมี ความแตกต่างจากการทาการุณยฆาตโดยสิ้นเชิง โดยการการุณยฆาตนั้น เป็นการให้สิทธิผู้ป่วยในการตายได้ ซึ่งถือเป็นสิทธิที่ผู้ป่วยพึงมี ซึ่งการการุณยฆาต เป็นการยุติชีวิตโดยเจตนาเพื่อให้พ้นจากความเจ็บปวดทรมาน แต่การดูแลแบบประคับประคอง เป็นการยื้อชีวิตผู้ป่วยให้สามารถดารงชีวิตต่อไปได้ ซึ่งภายใต้กฎหมายของ ไทยนั้น ยังมิได้มีการอนุญาต การใช้กฎหมายการุณยฆาต ดังนั้น การการุณยฆาตในไทยจึงยังไม่เป็นที่ แพร่หลายและรู้จักมากนัก ซึ่งการรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยในไทยนั้น คงเป็นเพียงการรักษาแบบประคองโรค ไว้เพียงเท่านั้น คาสาคัญ : สิทธิการตาย, การุณยฆาต, ดูแลแบบประคับประคอง Abstract This academic article is intended to study theoretical concepts of euthanasia and the right to death. Study the suitability and nuances of palliative care and Execution. And compare laws that determine the right of death of Thai law and palliative care laws. There is 1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 80160 2 อาจารย์ประจาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 80160 1 UndergraduatestudentinSchool of Law, Walailak University, NakhonSrithammarat 80160 2 UndergraduatestudentinSchool of Law, Walailak University, NakhonSrithammarat 80160 3 LecturerinSchool of Law, Walailak University, NakhonSrithammarat 80160 * Corresponding author: E-mail address : amonrat.am@wu.ac.th
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3