รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-1
530 6. ผลที่ได้รับหรือผลที่ตามมา (Consequence) หากเลือกทากิจกรรมนั้นแล้ว ย่อมได้ผลลัพธ์จากการ เลือกกระทานั้นซึ่งผลที่ได้อาจจะตรงตามที่คิดไว้หรืออาจตรงข้ามกับความหมายก็ได้ 7. ปฏิกิริยาต่อความผิดหวัง (Reaction to Thwarting) หากเราไม่สามารถตอบสนองต่อความ ต้องการ ได้ถือว่าประสบกับความผิดหวัง อาทิเช่น บุคคลนั้นอาจต้องทาการย้อนกลับไปแปลความหมายใหม่ และเลือกวิธีการตอบสนองในรูปแบบใหม่ เป็นต้น กล่าวโดยสรุป องค์ประกอบของพฤติกรรมนั้น เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความต้องการโดยผ่าน ขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อตอบความสนองความต้องการในการทากิจกรรม อาจมีทั้งความต้องการที่ประสบ ความสาเร็จหรืออาจมี ผิดหวังขึ้นอยู่กับผู้เลือกทากิจกรรมนั้น ๆ 2. ความหมายแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะห์ 5W2H เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาด้วย 5w2H คือ การตั้งคาถามในการสารวจปัญหาและแนวทางการแก้ไข โดยการท้าทายด้วยคาถาม 5W2H จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือปัญหาได้เกือบทุกรูปแบบ โดยเป็นการคิด วิเคราะห์ (Analysis Thinking) ที่ใช้ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่งสิ่ง ใดซึ่งอาจจะเป็นวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ นามาหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ ต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อค้นหาคาตอบที่เป็นความเป็นจริงหรือที่เป็นสิ่งที่สาคัญ จากนั้นจึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมา จัดระบบ เรียบเรียงใหม่ ให้ง่ายแก่ต่อการทาความเข้าใจ (ชนินท์ บัวพลี, 2559) องค์ประกอบของ 5W2H 1. Who คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า ใครรับผิดชอบ ใครเกี่ยวข้อง ใครได้รับผลกระทบ ในเรื่องนั้นมีใครบ้าง 2. What คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า เราจะทาอะไร แต่ละคนทาอะไรบ้าง 3. Where คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า สถานที่ที่เราจะทาว่าจะทาที่ไหน เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทานั้นอยู่ที่ ไหน 4. When คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า ระยะเวลาที่จะทาจนถึงสิ้นสุด เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทานั้นทาเมื่อใด 5. Why คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า สิ่งที่เราจะทานั้นทาด้วยเหตุผลใด เหตุใดจึงได้ทาสิ่งนั้น 6. How คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า เราจะสามารถทาทุกอย่างให้บรรลุผลได้อย่างไร เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทา นั้นทาอย่างไรบ้าง 7. How Much เท่าไร คือการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย งบประมาณเท่าไหร่ ประโยชน์ของการคิดวิเคราะห์ 5W2H 1. ทาให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์นั้น 2. ใช้เป็นฐานความรู้ในการนาไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา 3. ทาให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง 4. ทาให้เราสามารถประมาณความน่าจะเป็นได้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3