รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

4 แนวคิดเกี่ยวกับครอบครัวบ้าบัด ความหมายของกิจกรรมครอบครัวบ้าบัด ครอบครัวบาบัดเป็นวิธีการบาบัดทางจิตใจ โดยใช้แนวคิดครอบครัวและกระบวนการบาบัดบูรณาการ ร่วมกัน โดยที่ผู้บาบัดจะทางานร่วมกับสมาชิกภายในครอบครัวของ เด็กและเยาวชนที่ได้กระทาความผิด เพื่อ ปรับเปลี่ยนอารมณ์ จิตใจ พฤติกรรมของสมาชิกภายในครอบครัวและตัวเด็กละเยาวชน และมีความสามารถ ในการเปลี่ยนแปลงความรู้สึก ความเชื่อ ความคาดหวังของตนเองได้ จนทาให้เกิดแรงบันดาลใจในการดาเนิน ชีวิตต่อไปได้อย่างเหมาะสม ซึ่งการบูรณาการแนวคิดและวิธีการบาบัดโดยครอบครัวนั้น ทาให้สมาชิกใน ครอบครัวเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในจิตใจอย่างเป็นระบบ และสามารถเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นพฤติกรรมที่ เกิดขึ้นอย่างถาวร หลักการของกิจกรรมครอบครัวบ้าบัด หลักสาคัญในการทากิจกรรมครอบครัว ผู้บาบัดต้องทาหน้าที่กระตุ้น ผลักดัน พัฒนาบุคคลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงภายในตนเองของแต่ละคน และเกี่ยวข้องกับสมาชิกภายในกลุ่มซึ่งเป็นประเด็นปัญหาร่วมกันใน ครอบครัว โดยมีหลักการสาคัญในกระบวนการทาการบาบัดมีดังนี้ การสร้างความหวัง โดยสมาชิกที่มี ประสบการณ์เหมือนกันจะช่วยให้สมาชิกอื่นก้าวข้ามความรู้สึกเหมือนกันได้ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว การเปิดเผยข้อมูล สมาชิกในกลุ่มสามารถช่วยเหลือสมาชิกคนอื่นโดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลและตระหนักรู้ข้อมูลร่วมกัน ความเห็น แก่ส่วนรวม สร้างความเข้าใจกับสมาชิกในครอบครัว ให้เกิดการเรียนรู้ว่าจะหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่ได้ ช่วยเหลือให้เกิดประโยชน์ในชีวิตจริง พัฒนาเทคนิคการขัดเกลาทางสังคม สถานที่ปลอดภัยและเทคนิคที่ดีจะ ช่วยให้สมาชิกก้าวผ่านความกลัวต่อความล้มเหลวได้ และมีทักษะสังคมในการจัดการกับปัญหา การเลียนแบบ พฤติกรรม สมาชิกสามารถเลียนแบบ พฤติกรรมของคนอื่นหรือของผู้บาบัดได้ การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การมี ปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การรับรู้ การโต้ตอบจากสมาชิกและผู้บาบัด ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่สาคัญของสมาชิก ความผูกพันภายในกลุ่ม กลุ่มบาบัดมีเป้าหมายร่วมกันสมาชิกเกิดความรู้สึกยอมรับซึ่งกันและกัน จึงเกิดความ ผูกพันกัน การได้ระบายอารมณ์ความรู้สึก สมาชิกได้แลกเปลี่ยน ความรู้สึกในกลุ่ม และสมาชิกรับรู้อารมณ์ ความรู้สึก เจ็บปวด รู้สึกผิด รู้สึกกดดันร่วมกัน ปัจจัยที่มีอยู่สมาชิกกลุ่มจะช่วยสนับสนุนกาลังใจและได้ แนวทางช่วยเหลือให้สมาชิกในกลุ่มตระหนักถึง ความรับผิดชอบต่อชีวิตตนเอง แลกเปลี่ยนข้อมูลที่นาไปสู่การ เข้าใจตนเอง ผู้นากลุ่มและสมาชิกจะช่วยให้สมาชิกได้แลกเปลี่ยนข้อมูลที่นาไปสู่การเข้าใจตนเองการแนะนา การแนะนาให้สมาชิกในกลุ่มมีทิศทางในการดูแลอารมณ์จิตใจตนเอง และมีความเข้าใจตนเองและครอบครัว จนสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นได้ (อุมาพร ตรังคสมบัติ, ม.ป.ป.)

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3