รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

5 การควบคุมทางสังคม การควบคุมทางสังคม หรือ Social Control เป็นแนวคิดที่มีการจัดระเบียบภายในสังคมเพื่อมุ่งหมาย ให้สมาชิกภายในสังคมนั้นยอมรับ และมีการปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม เพื่อควบคุมการประพฤติปฏิบัติ ตนของสมาชิกเพื่อให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันภายในสังคม ให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขและ ปราศจากความขัดแย้งของสังคม (เอกชัย ไชยอาพร, 2559) การขัดเกลาทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) เป็นกระบวนการทางสังคมกับจิตวิทยาซึ่งมีผลทาให้บุคคลมี บุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคมต้องการ โดยให้ความสาคัญแก่ตัวบุคคลและบรรทัดฐานที่สังคมกาหนด ซึ่งการ ขัดเกลาทางสังคมจะเริ่มตั้งแต่วัยเด็กโดยจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอนจากบิดามารดาเพื่อให้เป็นคนที่มีความ รับผิดชอบต่อหน้าที่และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น นอกจากนี้การขัดเกลาทางสังคมทาให้ มนุษย์เปลี่ยนแปลงสภาพตามธรรมชาติ เป็นมนุษย์ที่มีวัฒนธรรม มีสภาพแตกต่างออกไปจากสัตว์ร่วมโลกชนิด อื่น ๆ (โรงเรียนทรายมูลวิทยา, ม.ป.ป.) การกระท้าความผิดและกระบวนการแก้ไขส้าหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มี การกาหนดวิธีการสาหรับเด็กและเยาวชนที่กระทาผิด ทั้งก่อนและหลังการพิจารณาคดีของศาล โดยแบ่งเป็น 2 ระยะเวลา ได้แก่ มาตรการพิเศษแทนการด้าเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟ้องคดีอาญา (มาตรา 86) มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. คดีที่เด็กหรือเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา มีอัตราโทษอย่างน้อยจาคุกไม่เกิน 5 ปีไม่ว่า จะมีโทษปรับด้วยหรือไม่ก็ตาม 2. ไม่ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุด เว้นแต่เป็นความผิดที่กระทาโดยประมาทหรือความผิด ลหุโทษ 3. สานึกในการกระทาก่อนฟ้องคดี 4. ผู้อานวยการสถานพินิจ พิจารณาเงื่อนไขอื่นๆ เห็นว่าเด็กหรือเยาวชนอาจกลับกลัวตัวเป็นคนดีโดย ไม่ต้องฟ้อง 5. ได้รับความยินยอมจากผู้เสียหาย และเด็กหรือเยาวชน มาตรการพิเศษแทนการด้าเนินคดีอาญาในชั้นหลังฟ้องคดีอาญา (มาตรา 90) มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3