รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2
11 วางแผนลดหรือขยายเวลาได้ตามความเหมาะสมจากการพิจารณาของผู้อานวยการสถานพินิจ และศาล โดยใช้ กระบวนการอันประยุกต์มาจากกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร กล่าวคือ 1. การมีส่วนร่วม เป็นการสร้างความน่าเชื่อถือของนักบาบัด แสดงให้ผู้เข้ารับการบาบัดเห็นว่านัก บาบัดพร้อมที่จะรับฟัง ให้การช่วยเหลือ และให้ความเคารพพวกเขาทุกคน 2. การสร้างแรงจูงใจ เป็นการสร้างแรงบันดาลใจในเชิงบวกโดยการลดความขัดแย้งในครอบครัว ตลอดถึงการสร้างความหวัง และสร้างพันธมิตรเพื่อให้เกิดความสมดุลกับสมาชิกในครอบครัว เน้นจุดแข็งการ ทากิจกรรมร่วมกันของคนในครอบครัว 3. . การประเมินเชิงสัมพันธ์ เป็นมุมมองเชิงสัมพันธ์ โดยนักบาบัดทางานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ภายใน ครอบครัวและนอกครอบครัว 4. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ลดและแก้ปัญหาพฤติกรรมความสัมพันธ์ในครอบครัวผ่านการ แทรกแซงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นรายบุคคล โดยมีการฝึกอบรมทักษะในการสื่อสาร และการเลี้ยงดู ภายในครอบครัว 5. ขั้นตอนทั่วไป วางแผนสาหรับความท้าท้ายในอนาคต เพื่อการป้องกันการกลับมากระทาความผิด ซ้าในความผิดเดิม เน้นที่ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว และระบบชุมชนหลายระบบ เอกสารอ้างอิง [1] กระทรวงยุติธรรมสหรัฐ. (2565). Functional Family Therapy . สืบค้น 15 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.ojp.gov/pdffiles1/ojjdp. [2] จานงค์ อดิวัฒนสิทธิ์, เสาวคนธ์ สุดสวาสดิ์, เฉลียว ฤกษ์รุจิพิมล, ประพีร์ วิริยะสมบูรณ์, สุดา ภิรมย์แก้ว, และสุรพันธ์ เพชราภา. (2549). สังคมวิทยา (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. น. 43-44. [3] ทัศนีย์ ทองสว่าง. (2549). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์ . [4] ปพนธีร์ ธีระพันธ์. (2562). มาตรการพิเศษก่อนฟ้องคดี. สงขลา: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนสามัญ หาดใหญ่ ดิจิตอล พริ้นท์. น. 173–180, และ 180–186. [5] พระชยสร สมบุญมาก และพระมณเทียร สังเงิน. (2543). การควบคุมทางสังคมของชุมชนชาวเขาโดย วัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. [6] พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 . (22 พฤศจิกายน 2553). พระราชบัญญัติ. เล่ม 127. ตอนที่ 72 ก หน้า 26.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3