รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

25 Abstract At present, the misconduct of children and adolescents in Thailand has a huge impact on today's society. According to the statistics of the Ministry of Youth Observation and Protection, more and more young people commit crimes. The legal intent applicable to children and adolescents currently committing crimes in Thailand. This is a law designed to protect the rights of children and adolescents who commit crimes, and to provide more opportunities to punish children and adolescents who commit crimes. This is another reason why children or teenagers are not afraid of punishment. The purpose of this study is to study the statistics of repeated crimes in Thailand and the concept of foreign laws. Apply and amend section 144 of the Juvenile and Family Court Act B.E.2553 (2010). By dividing children and adolescents into two groups: children who have never committed crimes and children who have committed crimes. It also cuts off the discretion of children and adolescents who have committed crimes before to wait for punishment and to wait for court punishment. Therefore, the court can only wait for punishment, as appropriate, for children and adolescents who have never committed crimes. It is time to revise the law to adapt to the current social conditions. So that domestic children and youth can grow into high-quality adults in the future. Keywords: juvenile offenders, recidivists บทน้า เด็กและเยาวชนถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าเป็นตัวแปรส่าคัญในการพัฒนาของประเทศชาติ เป็นสมาชิกที่ ส่าคัญ ยิ่งกลุ่มหนึ่งของสังคม การที่ปัญหาการกระท่าความผิดของเด็กและเยาวชนนับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนหนึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่อย่างไรก็ตาม “เด็กที่กระท่าผิด กฎหมายไม่ใช่อาชญากร” นานาประเทศจึงเห็นว่า เด็กและเยาวชนเหล่านั้นยังสามารถแก้ไข ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม หรืออบรมบ่มนิสัยให้กลับตัวเป็นคนดีได้โดยไม่ยาก ตลอดจนเพื่อลดปัญหาความแตกแยกของ ครอบครัวและปัญหาเด็กและเยาวชนที่เกิดจากครอบครัวไม่ปกติสุข จึงควรมีการแยกกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาส่าหรับเด็กออกจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญาส่าหรับผู้ใหญ่โดยเด็ดขาด โดยมีวัตถุประสงค์ มุ่งไป ทางสงเคราะห์บ่าบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนมากกว่ามุ่งลงโทษทางอาญาแก่เด็กและเยาวชนเหล่านั้น โดย ให้ศาลเยาวชนและครอบครัวด่าเนินกระบวนการพิจารณาเป็นพิเศษแตกต่างจากศาลที่มีอ่านาจพิจารณา พิพากษาคดีธรรมดา และให้แยกสถานที่ควบคุมฝึกอบรมเด็กและเยาวชนต่างหากจากเรือนจ่า หรือทัณฑสถาน ซึ่งเป็นที่คุมขังอาชญากรที่เป็นผู้ใหญ่ ประเทศไทยได้มีการจัดตั้งศาลเด็กและเยาวชนขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2494 โดยพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2494 และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3