รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

26 2494 ต่อมาได้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับและตราเป็นกฎหมายขึ้นใหม่ คือ พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครบครัว พ.ศ. 2534 และได้มีการปรับปรุง แก้ไขเนื้อหาให้เหมาะสมมากขึ้น ในปี 2553 ซึ่งยังคงเนื้อหาที่สอดคล้องกับหลักสากลไว้ โดยเด็กและเยาวชนผู้ ที่กระท่าผิดทั้งหมดจะต้องผ่านการพิจารณาคดีและรับการพิพากษาตัดสินโดยศาลเยาวชนและครอบครัว หาก ศาลพิจารณาแล้วพบว่าเยาวชนมีความผิดจริงและจ่าเป็นต้องได้รับการแก้ไขฟื้นฟู เยาวชนดังกล่าวจะถูกส่งตัว เข้ารับการฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนตามระยะเวลาที่ก่าหนด ปัจจุบันปัญหาการกระท่าผิดของเด็กและเยาวชนในประเทศไทยยังคงเป็นปัญหาที่น่าเป็นห่วง โดยเฉพาะปัญหาการกระท่าผิดในคดีอาญา ที่จากสถิติขอกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน พบว่า จ่านวน เด็กและเยาวชนที่เดินทางเข้าสู่การดูแลของสถานพินิจฯ ยังคงมีจ่านวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดมาโดยจาก ข้อมูลสถิติการกระท่าผิดของเด็กทั้งหมดตลอดหลายปีที่ผ่านมา พบว่าคดีเกี่ยวกับยาเสพติดยังคงเป็นการ กระท่าผิดที่เกิดขึ้นกับเด็กไทยทั้งหญิงและชายมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งโดยมีจ่านวน 6,943 คดี คิดเป็นร้อยละ 47.57 ของคดีทั้งหมด และคดีการกระท่าผิดเกี่ยวกับทรัพย์ตามมาเป็นอันดับสอง 3 ซึ่งอาจเป็นการแสดงให้เห็น ว่าการบังคับใช้กฎหมายทั้งมาตรการทางอาญาและมาตรการอื่นทางอาญากับเด็กและเยาวชนยังไม่ประสบ ความส่าเร็จเท่าที่ควร ซึ่งเมื่อพิจารณาสภาพของเด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดในประเทศไทยแล้ว พบว่า นับวันเด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดนั้นมีอายุน้อยลงเรื่อย ๆ แต่การกระท่าผิดมีลักษณะที่รุนแรงมากขึ้น จึงท่าให้เห็นว่าการก่าหนดโทษจะค่านึงเพียงอายุของเด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดเพียงอย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูที่สภาพจิตใจพฤติการณ์ที่เด็กและเยาวชนได้กระท่าลงไปด้วยนั่นเอง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถิติการกระท่าความผิดซ้่าของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันอันมาจากการใช้ดุลพินิจของ ศาลไทย 2. เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี กฎหมายไทยและต่างประเทศ รวมไปถึงหลักสากลที่เกี่ยวข้องกับ มาตรการการลงโทษในคดีเด็กและเยาวชน 3. เพื่อเสนอแนวทางในการแก้ไขและปรับปรุงโดยการลดอ่านาจดุลพินิจของศาล ตามบทบัญญัติ กฎหมายมาตรา 144 แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 เพื่อให้ศาลใช้อ่านาจที่เด็ดขาดในการจัดการกลุ่มเด็กและเยาวชนที่กระท่าผิดซ้่า การด้าเนินการวิจัย ศึกษาวิจัยเอกสาร ในส่วนของตัวบทกฎหมาย และบทลงโทษ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทความ ของ ประเทศไทยและต่างประเทศ ประกอบด้วย ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Document) ได้แก่ พระราชบัญญัติ 3 ส่านักพัฒนาระบบงานยุติธรรมเด็กและเยาวชน. (2564). รายงานสถิติคดีประจ่าปี พ.ศ. 2564 10. สืบค้นเมื่อ 5 ธันวาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.djop.go.th/storage/files/2/statistics2564.pdf

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3