รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

28 ผู้กระท่าความผิดที่เป็นผู้ใหญ่ในกรณีการกระท่าผิดซ้่า เยาวชนที่มีอายุ 16 ปีแต่ไม่เกิน 18 ปี ได้กระท่าผิดซ้่า หรือกระท่าความผิดอาญาร้ายแรง จะถูกศาลพิพากษาให้จ่าคุกโดยไม่อาจน่าความเป็นเยาวชนมาอ้างต่อศาลได้ 7 3. วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 พบว่า กรณีที่เด็กหรือเยาวชนกระท่าความผิดอาญา ไม่ว่าความผิดนั้นจะมีโทษ ที่ร้ายแรงมากมายเพียงใดหรือเคยรับโทษจ่าคุกหรือ โทษอย่างอื่นตามค่าพิพากษามาก่อนแล้ว ศาลมีสิทธิที่จะ รอการลงโทษเด็กหรือเยาวชนที่กระท่าความผิดร้ายแรงได้เสมอ แสดงให้เห็นว่ากฎหมายเปิดโอกาสให้ศาล เยาวชนใช้อ่านาจ ดุลพินิจในการลงโทษเยาวชนที่กระท่าความผิดได้ทุกกรณีไม่ว่าเยาวชนจะกระท่าความผิด ร้ายแรงมากน้อยเท่าใด บทสรุปและอภิปรายผล เสนอเป็นความเรียงและให้เชื่อมโยงกับผลการวิจัยตามล่าดับอย่างชัดเจน 1. ผลจากการวิจัยวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 พบว่า สถิติการกระท่าผิดซ้่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 -2563 เฉลี่ย จะอยู่ที่ร้อยละ 33.26 โดยอ้างอิงจากสถานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน การวิจัยครั้งนี้จึงมี วัตถุประสงค์ในการศึกษาข้อบกพร่องการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาในกฎหมาย ของไทย ทั้งนี้เพราะ ความไม่เด็ดขาดในการใช้ดุลพินิจของศาลไทย มีผลให้เกิดการกระท่าความผิดของเด็ก และเยาวชนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ สอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยของสถานกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน (อ้างอิง) 2. ผลจากการวิจัยวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 พบว่า แนวคิดกฎหมายในประเทศไทย ตราขึ้นมาบนพื้นฐาน ของทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟู มุ่งให้โอกาสเด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดให้กลับตัวเป็นคนดี กล่าวคือ ยังคงมีการรอการลงโทษ แม้เด็กจะมีการกระท่าความผิดซ้่า ในขณะที่กฎหมายต่างประเทศคือ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และ สาธารณรัฐฝรั่งเศส ทั้ง 3 ประเทศนี้มีแนวความคิดที่คล้ายกัน คือ มีการ ลงโทษเมื่อเด็กมีการกระท่าผิดซ้่าในทันทีโดยไม่มีการรอการลงโทษ 3. ผลจากการวิจัยวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 พบว่า กฎหมายไทยมองอนาคตในสังคมวันข้างหน้าส่าคัญกว่า ปัจจุบัน แต่ไม่ได้ค่านึงถึงความรุนแรงของความผิดที่เด็กกระท่าในปัจจุบัน ทั้งได้รับการคุ้มครองสิทธิตาม กฎหมายอย่างเท่ากันกับเด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดครั้งแรก เพราะการพิจารณาคดีที่น่ามาใช้ ไม่มีการ แยกกระบวนการด่าเนินคดีของเด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดซ้่าออกจากกระบวนการ การด่าเนินคดีของ เด็กและเยาวชนที่กระท่าความผิดครั้งแรก 7 ณัชชา ก๋าแก้ว (2561). มาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมกับการลงโทษทางอาญาในการกระทาความผิดศึกษากรณีความผิด เกี่ยวกับชีวิตและร่างกายตามประมวลกฎหมายอาญา.( วิทยานิพนธ์ นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิต พัฒนาบริหารศาสตร์ 2561.)57-59 [Online], 8 December 2022. เข้าได้ถึงจาก https://repository.nida.ac.th/bitstream/handle/662723737/4487/b204611.pdf?sequence=1&isAllowed=y

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3