รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

680 2. ควรมีคู่มือขั้นตอนการให้บริการที่เป็นอักษรเบรลล์ในการใช้สื่อสารแก่ผู้ที่มีความบกพร่องทางการ มองเห็น 3. สานักงานตารวจแห่งชาติควรจัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานที่ให้บริการแก่ผู้ที่มีความ บกพร่องทางด้านร่างกาย เช่น โรงเรียนโสตศึกษาประจาจังหวัด เป็นต้น เพื่อประสานความร่วมมือในการให้ความ ช่วยเหลือแก่ผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน การพูด หรือการมองเห็น ในการช่วยเหลือเจ้าพนักงานตารวจในการ ให้บริการแก่ผู้มีความบกพร่องในด้านต่าง ๆ เอกสารอ้างอิง [1] ภัทริดา สุคุณณี. (ม.ป.ป.). บทวิเคราะห์รัฐธรรมนูญ เรื่อง สิทธิคนพิการและทุพพลภาพ. สืบค้น 10 ธันวาคม 2565, จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=154. [2] กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2565). สถานการณ์คนพิการ 30 กันยายน 2565 (รายไตรมาส) . สืบค้น 5 ธันวาคม 2565, จาก https://dep.go.th/th/law-academic/knowledge-base/disabled- person-situation. [3] ประกาศกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและเกณฑ์คนพิการ. (29 พฤษภาคม 2552). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 126 ตอน พิเศษ 77 ง. [4] ประทีป ทับอัตตานนท์ และจิดาภา พรยิ่ง. (2561). สิทธิคนพิการในประเทศไทย . กรุงเทพฯ: ปณรัชช. [5] ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์. (2565). ทฤษฎีสิทธิขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน. [6] กิตติวัฒน์ ฉัตรศรีโพธิ์. (2558). การเข้าถึงสาธารณสุขของคนพิการ : พื้นที่ศึกษา เทศบาลตาบลเมืองศรีไคและ เทศบาลตาบลธาตุ จังหวัดอุบลราชธานี . อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. [7] ประภัสสร วัฒนา. (2560). แนวความคิดมนุษยนิยมของมาสโลว์ (Maslow) และแนวความคิดอัตถิภาวนิยม ของฌอง ปอล ซาร์ตร์ (Jean Paul Sartre) ที่ปรากฏผ่านนวนิยายเรื่อง “วันหนึ่งในชีวิตของอีวาน เดนิโซวิช” (ภาคนิพนธ์ศิลปศาสตบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร). สืบค้นจาก https://km- ir.arts.tu.ac.th/files/original/a7aaa217f279a64ea33e4efab953a0c0a89e1da7.pdf

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3