รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2
683 บทนา โทษจาคุกเป็นโทษที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดที่จะทาให้ผู้ต้องโทษกลับตนเป็นคนดีได้โดย วัตถุประสงค์เพื่อการตัดโอกาสในการกระทาความผิดซ้าของอาชญากรและยังมุ่งไปสู่การทาให้ผู้กระทา ความผิดทางอาญาสามารถดารงชีวิตในอนาคตได้โดยไม่กระทาความผิดซ้าอีก และมีความรู้สึกรับผิดชอบ ต่อสังคมแต่โทษจาคุกเป็นโทษที่ก่อภาระให้สังคมมากต้องใช้ทรัพยากรจากสังคมเป็นจานวนมาก ไม่ว่าการ ก่อสร้าง การบริหารจัดการต่าง ๆ ซึ่งล้วนเป็นภาษีของสมาชิกในสังคมทั้งสิ้น จากการสารวจพบว่า ประเทศไทยมีเรือนจา/ทัณฑสถานทั่วประเทศ จานวน 143 แห่ง ซึ่งไม่ เพียงพอต่อการรองรับปริมาณผู้ต้องขังที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พิจารณาจากจานวนผู้ต้องขังที่อยู่ในการ ควบคุมทั่วประเทศ จานวน344,161 คน (กรมราชทัณฑ์.2565: ออนไลน์) ในขณะที่ความจุมาตรฐานของ เรือนจา/ทัณฑสถานทั่วประเทศรองรับได้เพียง 232,587 คน (กลุ่มงานมาตรการควบคุมผู้ต้องขัง กรม ราชทัณฑ์.2564: ออนไลน์) ซึ่งส่งผลให้รัฐต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลและจัดสวัสดิการให้คน เหล่านี้ งบประมาณในส่วนค่าอาหารเลี้ยงผู้ต้องขังทั่วประเทศถือได้ว่าเป็นการใช้งบประมาณที่สิ้นเปลือง อย่างสูงในระยะยาว และค่าสาธาณูปโภคอุปโภคเป็นลาดับรองลงมา ในการนี้ไม่นับรวมกับเงินได้ราย เดือนและงบพัฒนาบุคลากรที่ นับได้ว่าเป็นความสูญเสียทางเศรษฐกิจของภาครัฐเป็นจานวนมหาศาล จากข้อมูลของกรมราชทัณฑ์ (กรมราชทัณฑ์. 2564: ออนไลน์) พบว่า ต้นทุนรวมของหน่วยงาน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 มีทั้งสิ้น 17,116.64 ล้านบาท แบ่งเป็นค่าใช้จ่ายบุคลากร 6,828.37 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรม 69.11 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายด้านการเดินทาง 46.68 ล้านบาท ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ และสาธารณูปโภค 8,924.47 ล้านบาท ค่าเสื่อมราคาและตัดจาหน่าย 1,134.25 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน 40.35 ล้านบาท ค่าจาหน่ายจากการขายสินทรัพย์ 2.66 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายอื่น 70.73 ล้านบาท โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กรมราชทัณฑ์ ใช้งบประมาณในการดูแลผู้ต้องขังทั้งสิ้น 312,431 คน รวม 15,851.16 ล้านบาท คิดเป็นต้นทุนเฉลี่ย 50,734.91 บาท/คน/ปี สอดคล้องกับ งานวิจัยของพิศมัย จารุจิตติพันธ์และจรัสสา การเกษตร (2562: 159-210) ที่ได้ศึกษาเรื่อง ความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจและสังคมอันเนื่องมาจากการต้องขัง ซึ่งพบว่า มูลค่าความสูญเสียของรัฐในการดูแลผู้ต้องขัง หญิงในทัณฑสถานหญิงกลาง จานวน 4,674 คน คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียของรัฐเฉลี่ยต่อคน 44,241.45 บาท ประกอบกับสถานการณ์ปัจจุบันที่ภาวะเศรษฐกิจผันผวน รัฐบาลต้องจากัดงบประมาณของภาครัฐ อันเป็นภาษีของประชาชน สังคมจึงได้เกิดประเด็นคาถามเกี่ยวกับมูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจของ ภาครัฐที่ต้องสูญเสียไปในการดูแลผู้ต้องขัง แทนที่จะสามารถนาไปพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในด้านอื่น ๆ จากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ผู้วิจัยพบ การศึกษามูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจของภาครัฐใน ด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการจัดการศึกษา ด้านการบริการสุขภาพ ด้านนโยบายพลังงาน แต่ความสูญเสียทาง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3