รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางนิติศาสตร์-ครั้ง-2-เล่ม-2

691 3. กรมราชทัณฑ์ควรมีการศึกษายุทธศาสตร์ ข้อกฎหมายและแนวทางต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ เอกชนเข้ามาดาเนินการในบางภารกิจซึ่งจะทาให้ภาครัฐสามารถประหยัดงบประมาณ เช่นรัฐสร้างเรือนจา และให้เอกชนเข้ามาบริหาร เอกชนสร้างและบริหาร รัฐแบ่งงานบางส่วนให้เอกชนดาเนินการ 4. รัฐบาล โดยกระทรวงยุติธรรม ต้องปรับปรุงกฎหมายอาญา โดยใช้มาตรการลงโทษด้วยการ จาคุกให้น้อยลง ผ่านมาตรการการเลี่ยงโทษจาคุกต่าง ๆ เช่น การชะลอฟ้อง การกาหนดให้การกระทาผิด บางประเภทไม่เป็นความผิดทางอาญาการกาหนดลาดับชั้นของคดี ให้ความผิดลหุโทษสามารถสิ้นสุดที่ชั้น ตารวจ เป็นต้น ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1. ผู้บริหารเรือนจา ต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการบริหารโทษ ให้ผู้ต้องขังได้รับโอกาสในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปล่อยตัวกลับสู่สังคมก่อนครอบกาหนดโทษ เช่น การพักการโทษ การลดวัน ต้องโทษ การออกทางานสาธารณประโยชน์ เพื่อลดจานวนผู้ต้องขังภายในเรือนจา 2. กรมราชทัณฑ์ ควรศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ต้องราชทัณฑ์เพื่อพิจารณาแนวทางและ รูปแบบของการปรับใช้วิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ในการฝึกงานนักโทษเพื่อสร้างอาชีพและ สร้างรายได้เข้าสู่เรือนจา และสร้างนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation) 3. กรมราชทัณฑ์ ควรศึกษาแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคสังคมเพื่อลดความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจ เอกสารอ้างอิง กรมราชทัณฑ์. (2565). สถิติผู้ต้องขังราชทัณฑ์. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565, จาก http://www.correct.go.th/ rt103pdf/report_index.php. กฤษณพงค์ พูตระกูล และคณะ. (2562). การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบงานราชทัณฑ์ไทยเปรียบเทียบ กับประเทศมาเลเซีย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สนับสนุนโดยสานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กลุ่มงานมาตรการควบคุมผู้ต้องขัง กรมราชทัณฑ์. (2564). ความจุผู้ต้องขังของเรือนจาทัณฑสถานทั่ว ประเทศ. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565, จาก http://www.correct.go.th/ infosarabun64/ letter/filepdf/ 163470. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมราชทัณฑ์. (2564). รายงานการคานวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตประจา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ25 พฤศจิกายน 2565, จาก

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3