เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1058 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 P63 ออกĒบบระบบการวัดสัญญาèโôโตเóลตตีสโมกราôเóื่อคําîวèเวลาการเคลื่อîที่ของßีóจร Design a PhotoPlethysmograph signaling system to Calculate Blood Pulse Transit Time เทวัญ เปลี่ยนสายทอง 1* Taewan Pleansaithong 1* บทคัดยอ บทความนี้ไดนําเสนอการใชโฟโตเพลตตีสโมกราฟ เปนเครื่องมือที่ชวยในการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง ปริมาตรเลือดในรางกายของคนเรา ดวยการใชแอลอีดีและเซ็นเซอรแสงที่เหมาะสมในการเก็บขอมูลในรูปแบบของ สัญญาณไฟฟา สัญญาณจะถูกขยาย กรองสัญญาณและประมวลผลโดยใชวงจรเพื่อใหไดเอาทพุทที่ตองการ โดยการเปลี่ยน คลื่นชีพจรการไหลเวียนเลือดเปนรูปแบบของสัญญาณแรงดันไฟฟาซึ่งไดมาจากสองตําแหนงคือ ที่นิ้วมือและที่ขอมือ เวลา ที่แตกตางกันระหวางสองสัญญาณที่สอดคลองกันทําใหเราไดเวลาการเคลื่อนที่ของชีพจร และสามารถคํานวณความเร็ว คลื่นชีพจรได คําสําคัญ: แอลอีดี เซ็นเซอรแสง โฟโตเพลตตีสโมกราฟ เวลาในการเคลื่อนที่ของชีพจร ความเร็วคลื่นชีพจร Abstract This article presents PhotoPlethysmograph (PPG) is an instrument that assists in monitoring the volumetric changes in our body. It uses LEDs and their corresponding light sensors in retrieving information in the form of electrical signals. The signals are amplified and processed using various filters to give the desired output. The blood pulse wave in the form of a voltage signal is derived at two points, one finger and the other wrist. The time difference between two corresponding peaks gives us the pulse transit time. The pulse wave velocity can be calculated. Keywords: LED, Light Sensor, PhotoPlethysmograph, Pulse Transit Time, Pulse wave velocity _________________________________ 1 อ., ภาควิชาฟŗสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปทุมธานี 12120 Lecturer, Department of Physics, Faculty of Science and Technology, Thammasat University, Pathum Thani 12120 * Corresponding author: E-mail address: taewanp@hotmail.com
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3