เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1059 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) บทîํา เนื่องจากความดันเลือดเปนพารามิเตอรที่สําคัญทางสรีวิทยาในการวินิจÞัยผูปวย ซึ่งสามารถบงชี้สภาพหัวใจ และหลอดเลือด ทําใหความดันเลือดมีความสําคัญในการวิจัยทางการแพทยหรือเปนตัวแปรในการรักษา ความดันเลือดเปน ความดันที่เกิดจากเลือดหมุนเวียนกระทําตอผนังหลอดเลือดโดยอาศัยหลักการหดตัวของกลามเนื้อหัวใจ เมื่อหัวใจเตนจะมี การบีบตัวและดันเลือดออกมาจากหัวใจไปตามหลอดเลือดแดงทั่วรางกาย แรงดันนี้ทําใหเกิดความดันในหลอดเลือดแดง คาความดันที่วัดไดนี้คือ ความดัน systolic สวนคาความดัน diastolic แสดงถึงความดันในหลอดเลือดแดงในขณะที่หัวใจ พักการบีบตัวแตละครั้ง [1] ซึ่งจะใชหลักการวิเคราะหความเร็วในการไหลเวียนเลือด (Pulse Wave Velocity: PWV) ใน การหาคาความดันในหลอดเลือดแดง เวลาในการเคลื่อนที่ของชีพจร (Pulse Transit Time: PTT) คือ เวลาของสัญญาณพัลสที่ใชในการเคลื่อนที่ จากหัวใจไปยังจุดė หนึ่งในรางกาย จึงนิยามวา PTT เปนเวลาจากจุดอางอิงสําหรับคลื่นความดันพัลส ในการเคลื่อนไปยัง จุดตางė [2] โดยความดันเลือดที่เปลี่ยนไปจะสงผลทําใหคา PTT เปลี่ยนแปลงไปเชนกัน ในการคํานวณหาคาความเร็วคลื่นชีพจรที่ผานหลอดเลือดนั้น ปริมาตรและสภาพยืดหยุนของหลอดเลือดจะ สงผลกับการคํานวณหาคาความเร็วคลื่นชีพจรที่ผานหลอดเลือด [3] ถาสภาวะความยืดหยุนของหลอดเลือดแดงมากจะมี ผลทําใหความเร็วของการเคลื่อนที่ของคลื่นความดันเลือด จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เคลื่อนที่ไดชาลง ความเร็วคลื่นชีพจรที่ผานหลอดเลือด โดยใชหลักการวัดคาความดันหลอดเลือดภายนอก ณ ตําแหนงตางė ของรางกาย ดังนั้น PWV จึงเปนเครื่องมือที่มีศักยภาพ ใชงานไดดี และเปนตัวแปรที่สะดวกในการวัดความดันแบบตอเนื่อง การหา PWV สามารถหาไดโดย ใช ระยะทางที่คลื่นเดินทาง (ระยะหางระหวางเซ็นเซอร 2 ตัว) หารดวยเวลาที่คลื่นใชใน การเคลื่อนที่ในระยะทางระหวาง 2 เซ็นเซอร [4] การวัดความเร็วในการไหลเวียนเลือดนั้นจะวัดไดยากตามสถานพยาบาลทั่วไปซึ่งแตกตางกับชวงเวลาในการ เคลื่อนที่ของชีพจร (Pulse Transit Time: PTT) สวนใหญจึงนิยมใชการวัดคา PTT เพื่อหาคาความดันเลือดแทน PWV ความดันเลือดกับ PTT นั้นจะมีความสัมพันธแบบแปรผกผันกัน โดยที่คา PTT จะลดลงเมื่อคาความดันเลือดเพิ่มขึ้น เพราะÞะนั้นในการทดลองนี้จะใชหลักการ PTT เพื่อหาผลตางของเวลาระหวางจุดสูงสุดของสัญญาณ PPG 2 สัญญาณ โฟโตเพลตตี้สโมกราฟ PhotoPlethysmograph หรือ PPG มีที่มาจากคําวา Photo แปลวา ทางแสง และ Plethysmograph แปลวา หลักการตรวจสอบการเคลื่อนที่ของปริมาตรเลือด หลักการทํางานเบื้องหลังของเซ็นเซอร PPG คือ การตรวจสอบทางแสงของการเปลี่ยนแปลงปริมาณเลือดในหลอดเลือดòอยของเนื้อเยื้อ ระบบเซ็นเซอร PPG ประกอบดวยแหลงกําเนิดแสงและตัวตรวจจับแสง [5] แหลงกําเนิดแสงที่ใชกันทั่วไป คือ ไดโอดเปลงแสง (LED) เซ็นเซอร ระบบ PPG ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงความเขมของแสงผานการสะทอนหรือสงผานในเนื้อเยื่อ การเปลี่ยนแปลงความเขม ของแสงจะเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงเล็กė ในเลือดที่สงไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ และใหขอมูลเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอด เลือดโดยเÞพาะอยางยิ่งอัตราการเตนของชีพจร [6] วิíีการวิจัย 1. การออกแบบวงจรการวัดสัญญาณโฟโตเพลตตีสโมกราฟ ในการออกแบบวงจรการวัดสัญญาณโฟโตเพลตตีสโมกราฟ ประกอบดวยวงจรขับแอลอีดีและวงจรขับ โฟโตทรานซิสเตอรชนิดอินฟราเรด สวนถัดไปเปนวงจรปรับแตงสัญญาณเพื่อใหไดเปนสัญญาณพัลส ที่สามารถตรวจวัด สัญญาณไดดวยออสซิลโลสโคป เซ็นเซอรที่ใชในการวัดการเคลื่อนที่ของปริมาตรเลือดซึ่งสัมพันธกับอัตราการเตนของหัวใจ ผูวิจัยไดประยุกตนําเซ็นเซอรแสงชนิดอินฟราเรดเบอร TCRT5000 ซึ่งวงจรประกอบดวย 4 สวน คือ สวนที่หนึ่งวงจรขับ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3