เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1060 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 เซ็นเซอรและตรวจสอบสัญญณ TCRT5000 สวนที่สองวงจรกรองความถี่และวงจรขยายสัญญาณครั้งที่ 1 สวนที่สามวงจร กรองความถี่และวงจรขยายสัญญาณครั้งที่ 2 และสวนที่สี่วงจรบัฟเฟอร ภาóที่ǰ1 วงจรขับแอลอีดีและโฟโตทรานซิสเตอร ในการวัดอัตราการเตนของหัวใจไดใชเซ็นเซอร TCRT5000 ซึ่งประกอบดวยแอลอีดีอินฟราเรดและโฟโต ทรานซิสเตอรวงจรเปนดังภาพที่ 1 โดยการตอแรงดันไฟฟา +5V ผานตัวตานทาน 100 โอหม เขาขาแอโนดของแอลอีดี อินฟราเรดเพื่อปองไมใหมีกระแสไฟฟามากเกินไป สวนขาแคโทดตอลงกราวนดเพื่อใหแอลอีดีทํางานเมื่อกระแสไหลผาน แอลอีดีจะมีแสงอินฟราเรดเกิดขึ้นและสะทอนกลับมายังโฟโตทรานซิสเตอรซึ่งเปนตัวรับแสงที่รับไดดีในชวงความยาวคลื่น ที่เปนแสงอินฟราเรด ในสวนของโฟโตทรานซินเตอรทําหนาที่คลายทรานซิสเตอรรอยตอคูแบบ NPN มีขาคอลเลคเตอร (C) และขาอีมิตเตอร (E) เทานั้นที่เปนขาตอใชงานภายนอก สวนขาเบส (B) จะถูกแทนที่ดวยบริเวณรับแสง เมื่อไดรับแสง ในปริมาณมากพอทรานซิสเตอรจะเริ่มทํางาน โดยตอแรงดันไฟฟา +5 โวลต ผานตัวตานทาน 4.7 กิโลโอหม เพื่อจํากัด กระแสที่เขาสูตัวโฟโตทรานซิสเตอรไมใหสูงเกิน เมื่อมีแสงที่ไดจากการสะทอนมาตกกระทบที่โฟโตทรานซิสเตอร ทําใหเกิด การนํากระแส แรงดันระหวางขาคอลเลคเตอรและอีมิตเตอรจะตกลงมามีคานอยกวา +5 โวลต โดยขึ้นกับปริมาณแสงที่มา ตกกระทบเกิดเปนสัญญาณไฟฟาในสวนที่เปนกระแสตรงและกระแสสลับซึ่งไดจากการเตนของหัวใจ ภาóที่ǰ2 วงจรกรองความถี่และขยายสัญญาณ ในการออกแบบวงจรเพื่อใหมีความถี่ที่ตองการอยูในชวงของอัตราการเตนของหัวใจคน ในชวง 42 จังหวะตอ นาที (Beats per minute: BPM) ถึง 140 จังหวะตอนาที (Beats per minute: BPM) ดังนั้นความถี่ของสัญญาณที่ไดจาก เซ็นเซอรจะอยูในชวง 0.7 เăิรตซ ถึง 2.34 เăิรตซ จึงตั้งคาการออกแบบวงจรกรองความถี่สูง 0.7 เăิรตซ และสวนของ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3