เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561

1061 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) วงจรกรองความถี่ต่ํา 2.34 เăิรตซ เพื่อใหความถี่อยูในชวงเดียวกับอัตราการเตนของหัวใจ พรอมทั้งการขยายสัญญาณใหมี ขนาดสูงขึ้น เพื่อใหเหมาะสําหรับการวัดดวยออสซิลโลสโคป วงจรในภาพที่ 2 เอาทพุตที่สงออกจากเซ็นเซอรจะถูกสงผานตัวกรอง RC โดยวงจรกรองความถี่สูง (High Pass Filter : HPF) เพื่อกําจัดสัญญาณสวนของสัญญาณที่เปนกระแสตรง (Direct Current : DC) ความถี่ของวงจรกรอง ความถี่สูง ถูกกําหนดไวที่ความถี่ 0.7 เăิรตซ ขั้นตอนตอไปเปนวงจรกรองความถี่ต่ํา (Low Pass Filter : LPF) ที่ทําจาก ออปแอมปş โดยมีอัตราขยาย 101 เทา และความถี่ตัดผาน 2.34 เăิรตซ ตามลําดับ ดังนั้นการรวมกันของวงจรกรองความถี่ สูงและวงจรกรองความถี่ต่ํา ชวยในการลบสัญญาณไฟฟากระแสตรง (DC) ที่ไมพึงประสงค และตัดความถี่สูงที่ไมตองการ พรอมกับการขยายสัญญาณชีพจรที่อัตราขยาย 101 เทา เอาทพุตจากการปรับสัญญาณในสวนถัดมาจะคลายกันกับชุดกอนหนา ใชสําหรับการกรองและขยายสัญญาณ ดังนั้นสัญญาณที่ไดจากทั้งสองขั้นตอน มีอัตราการขยายเปน 101*101 = 10201 เทา ทั้งสองสวนมีการกรองและการขยาย เพื่อเปลี่ยนสัญญาณ PPG ใหมีสัญญาณที่มีความเสถียร และลดสัญญาณรบกวนที่อาจจะมีจากการวัด เพื่อใหเหมาะสม สําหรับการวัดดวยออสซิลโลสโคป ความถี่ (Frequency : f) ของสัญญาณพัลสเหลานี้มีความสัมพันธกับความเร็วในการสูบ Þีดเลือดของหัวใจ (PWV) 2. ขั้นตอนการทดลอง การทดลองเริ่มดวยการวัดสัญญาณ PPG จากทั้งสองตําแหนงคือจากนิ้วมือและขอมือ และนํามาเปรียบเทียบ ความตางกันในทางเวลาที่เกิดขึ้นของสัญญาณ PPG จากทั้งสองตําแหนงนั้นเปนคาเวลา PTT แสดงไดดังภาพที่ 3 ภาóที่ǰ3 แผนภาพขั้นตอนการทดลอง 2.1 การวัดสัญญาณ PPG โดยวิธีการทดลองนั้นไดนําสายรัดของเครื่องวัดความดันรัดไวที่ตนแขนขางซาย แลวนําเซ็นเซอรที่ไดทําการ ออกแบบไวไปรัดไวติดกับผิวหนังในตําแหนงที่ตองการวัด สาเหตุที่ใชเซ็นเซอรวัดสัญญาณขางเดียวกับเครื่องวัดความดัน มาตรฐานเพราะตองการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ PTT เมื่อความดันเลือดบริเวณที่สนใจมีการเปลี่ยนแปลง ในที่นี้ผูวิจัย จะรัดเซ็นเซอรไวที่ตําแหนงขอมือและที่ตําแหนงนิ้วชี้เนื่องจากตําแหนงของเซ็นเซอรทั้งสองจะมีระยะทางหางกันเปน เสนตรง หลังจากนั้นจะใชออสซิลโลสโคปในการวัดคาของสัญญาณ ในการหาคา PTT ผูวิจัยไดทําการบันทึกขอมูลที่ไดจากออสซิลโลสโคป โดยใชโปรแกรม Freewave เพื่อ บันทึกกราฟสัญญาณจากออสซิลโลสโคปเปนชุดขอมูล หลังจากนั้นนําขอมูลที่ไดไปพล็อตเปนกราฟสัญญาณ PPG และ คํานวณหาคา PTT ดวยโปรแกรม OriginLab วัดสัญญาณ PPG จากนิ้วมือ วัดสัญญาณ PPG จากขอมือ เปรียบเทียบสัญญาณทั้ง สองสัญญาณ คํานวณหาคา PTT

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3