เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561

1062 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 ผลการวิจัย 1. การหาคา Pulse Transit Time (PTT) ในการหาคา PTT ผูวิจัยไดทําการบันทึกขอมูลที่ไดจากออสซิลโลสโคป โดยใชโปรแกรม Freewave เพื่อ บันทึกกราฟสัญญาณจากออสซิลโลสโคปเปนชุดขอมูล หลังจากนั้นนําขอมูลที่ไดไปพล็อตเปนกราฟสัญญาณ PPG และ คํานวณหาคา PTT ดวยโปรแกรม OriginLab หลังจากพล็อตคาที่ไดดวยโปรแกรม OriginLab ในการทดลองวัดสัญญาณเพื่อหาคา PTT เทียบกับความดัน ผูวิจัยไดทําการวัดสัญญาณดวยอุปกรณที่สรางขึ้น และเครื่องวัดความดันมาตราฐานพรอมกันโดยวัดจํานวน 3 ครั้งในแตครั้งมีระยะการพักประมาณ 10 นาที ถึง 15 นาที ครั้งละ 4 ชวง โดยชวงที่หนึ่งคือชวงปกติ ชวงที่สองคือชวงที่เครื่องวัดความดันมีการบีบรัด ชวงที่สามคือชวงที่เครื่องวัด ความดันคลายออก และชวงที่สี่คือชวงที่กลับสูสภาวะปกติเพื่อหาคาเÞลี่ย แสดงใหเห็นแนวโนมของแตละคน โดยจะเห็นวา ในชวงที่สองที่มีการบีบตัวของสายรัดนั้น คา PTT จะมีแนวโนมเพิ่มขึ้น และคา PTT จะลดลงในชวงที่สามเมื่อสายรัดคลาย ตัว และกลับสูชวงปกติในชวงที่สี่ เมื่อนําคา PTT เÞลี่ยในแตละชวงของการวัดทั้ง 3 ครั้งมาเขียนเปนกราฟดังภาพที่ 4 ภาóที่ǰ4 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงคาเÞลี่ย PTT กับชวงของการรัดของสายรัด 2. การหาคา Pulse Wave Velocity (PWV) การวัดคาความเร็วของเลือดที่ผานหลอดเลือด (PWV) นั้น ใชวิธีการคํานวณโดยใชคา PTT และระยะหาง ระหวางเซ็นเซอรวัดสัญญาณ PPG ทั้งสองตําแหนง เมื่อนําคา PWV ที่ไดของผูเขารวมการทดสอบแตละคนมาเขียนเปน กราฟจะไดดังภาพที่ 5 สามารถคํานวณคาความเร็วของเลือดที่ผานหลอดเลือด (PWV) โดยวัดระยะหางระหวางตําแหนง ของเซ็นเซอรที่ขอมือกับนิ้วมือ เมื่อ คือ ความแตกตางของระยะทางจากนิ้วมือไปถึงขอมือ คือ ความแตกตางของเวลาที่เลือดไหลจากขอมือไปยังนิ้วมือ ซึ่งคํานวณความแตกตางของเวลาไดจากผลตางของเวลาของสัญญาณ PPG 2 สัญญาณ ซึ่งสรุปไดดังสมการ PWV =

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3