เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1066 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 3 อ., ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร ชุมพร 86160 1* Lecturer, Department of Science and Liberal Arts, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Prince of Chumphon Campus, Chumphon Province, 86160. 2 Assist. Prof. Dr., Department of Engineering, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Prince of Chumphon Campus, Chumphon Province, 86160. 3 Lecturer, Department of Agriculture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Prince of Chumphon Campus, Chumphon Province, 86160. *Corresponding author: Tel: 089-7275320 E-mail: seansukato@gmail.com บทน้า โลกในปŦจจุบันก้าลังประสบปŦญหาสภาวะโลกร้อน และมีการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรงต่อเนื่อง ส่งผล กระทบต่อการด้ารงชีวิตมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ทังนีสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงนีเป็นตัวก้าหนดระดับความส้าเร็จใน การผลิตทางด้านการเกษตร มีผลท้าให้เกษตรกรตลอดจนผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดห่วงโซ่อุปทานจนถึงผู้บริโภค ต้อง เร่งปรับตัวในการด้าเนินการ โดยการน้าเทคโนโลยีมาช่วยในกระบวนการผลิต ซึ่งในปŦจจุบันดอกหน้าวัวเป็นที่ต้องการ ของตลาดมากขึน ทังตลาดภายในประเทศและการส่งออกต่างประเทศ ที่สำคัญ คุณภำพกำรส่งออกยังไม่ดีพอ [2] และ หน้าวัวเป็นไม้ดอกเศรษฐกิจที่มีความสวยงาม มีสีสันสดใสและเป็นไม้ดอกที่อายุการใช้งานค่อนข้างยาวนาน เกษตรกร จึงหันมาเพาะปลูกเป็นจ้านวนมาก การปลูกเลียงและการจัดการการดูแลรักษา หน้าวัวจะมีรากอากาศออกจากล้าต้น เพื่อดูดซับความชืนจากอากาศ ถ้าอากาศมีความชืนสูงเพียงพอ ความชืนสัมพัทธ์ที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 0-80% [5,7] การควบคุมความชืนหรือน ้าในดินนันจึงเป็นสิ่งจ้าเป็นในการด้ารงชีพของพืช โดยการตรวจวัดความชืนในดินที่ เกษตรกรใช้กันทั่วไปมีการตรวจวัดหลายวิธีด้วยกัน เช่น การชั่งและการอบแห้ง การใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และ ใช้การดูลักษณะและความรู้สึกสัมผัส เป็นต้น ซึ่งวิธีเหล่านีต้องใช้ทังเวลาและแรงงานคน [6] ดังนัน ผู้วิจัยและคณะจึงมีแนวคิดที่เกี่ยวกับการควบคุมระบบการผลิตดอกหน้าวัว โดยการประยุกต์ใช้ เซ็นเซอร์ DHT 22 มาประยุกต์ใช้ในระบบการควบคุมการให้น ้าในแปลง ด้วยการวัดความชืนสัมพัทธ์ [4] ในอากาศ ซึ่ง ข้อดีของเซ็นเซอร์ DHT 22 สามารถวัดอุณหภูมิและความชืนในตัวเดียวกัน และถูกออกแบบให้มีความแม่นย้าเพิ่มขึน จากรุ่น DHT 11 และยังสามารถใช้โค้ดในโปรแกรม Arduino ได้เช่นกัน [3] อุปกรè์ĒúะวĉíĊการ/วĉíĊด้าเนĉนการวĉÝัย การออกแบบระบบการท้างานของระบบให้น ้าต้นไม้อัตโนมัติโดยการวัดความชืนสัมพัทธ์ในอากาศ ซึ่งจะแบ่ง การท้าางานออกเป็นส่วนต่างė ได้แก่ ส่วนเซนเซอร์และการรับค่าสวิตซ์ ส่วนประมวลผลและควบคุมการให้น ้าด้วยการ ควบคุมโซลินอยด์วาล์ว [1] และส่วนการแสดงผลผ่านการแสดงผลแอลซีดี ดังภาพที่ 1
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3