เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561

1070 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 õาóทĊę แสดงผลการเก็บข้อมูลในรูปไôล์ notepad วĉÝารè์ñúการวĉÝัย การศึกษาการประยุกต์ใช้เซ็นเซอร์ DHT 22 ในการวัดความชืน เปรียบเทียบกับเครื่องมือวัดที่ขายใน ท้องตลาด (HTC-1 และ Tanita) เพื่อเปรียบเทียบความแม่นย้า และค้านวณค่าความผิดพลาดของค่าปริมาณความชืน ในอากาศ พบว่า เซ็นเซอร์ DHT 22 มีความแม่นย้า และมีค่าความผิดพลาดสูงสุดประมาณ 1.36% ส้าหรับการทดสอบ ระบบการให้น ้าต้นหน้าวัว โดยการวัดความชืนในอากาศ เปรียบเทียบกับเครื่องวัด HTC-1 และ Tanita พบว่า มีความ แม่นย้า และมีค่าความผิดพลาดสูงสุดประมาณ 1.40% และการศึกษาการเก็บข้อมูล ผ่านการแสดงผลหน้าจอ คอมพิวเตอร์ และบันทึกเป็นไôล์ สามารถส่งผ่านข้อมูลแสดงผลบนหน้าจอ และเก็บข็อมูลได้ในรูปไôล์ notepad ในการเก็บบันทึกข้อมูล พบว่า ระบบให้น ้าจะท้างานโดยขึนอยู่กับสภาพอากาศในแต่วันที่ไม่เหมือนกัน ซึ่งใน วันที่ท้าการทดลอง พบว่า อุณหภูมิของวันมีค่าสูงท้าให้ค่าความชืนสัมพัทธ์เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงให้ระบบสั่งการ ท้างานของโซลินอยด์วาล์ว เกือบตลอดเวลา ซึ่งอาจจะการปรับปรุงระบบการให้น ้าที่มากขึนในวันที่อุณหภูมิของวันสูง หรือเพิ่มเติมหัวพ่นหมอกให้มากขึน ส้าหรับการพัçนาในอนาคตอาจจะมีการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรือเครือข่ายโทรศัพท์ เพื่อการ เก็บข้อมูลที่สะดวกมากขึน สรุปñúการวĉÝัย การประยุกต์ใช้เซ็นเซอร์ DHT 22 มาประยุกต์ใช้ในระบบการควบคุมการให้น ้าในแปลง ด้วยการวัดความชืน ในอากาศเปรียบเทียบกับเครื่องมือวัดที่มีขายตามท้องตลาด ทังการเปรียบเทียบก่อนทดสอบระบบ และการทดสอบ ระบบการให้น ้า พบว่า มีความแม่นย้า และมีค่าความผิดพลาดอยู่ที่ 1.36% และ 1.40% ตามล้าดับ และอาจจะต้องมี การปรับการเก็บข้อมูลต่อไป

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3