เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1073 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) บทนา ความยาวนานแสงแดด (Sunshine Duration) หมายถึง จานวนชั่วโมงที่มีแสงแดดต่อวัน โดยที่แสงแดดหรือรังสี อาทิตย์ เปŨนพลังงานรูปแบบหนึ่ง ที่เกิดจากปäิกิริยานิวเคลียร์ฟิวส์ชัน ( Nuclear fusion) บนดวงอาทิตย์ ที่เกิดจากการ หลอมรวมตัวกันของอะตอมของธาตุไăโดรเจนกลายเปŨนอะตอมของธาตุăีเลียม ในการเกิดปäิกิริยานี้จะให้พลังงาน มหาศาล และพลังงานรูปหนึ่งที่เกิดขึ้นนี้จะแผ่รังสีในรูปคลื่นแม่เหลĘกไฟฟŜามายังโลกที่อยู่ในรูปของความร้อน แสงที่ มองเหĘนด้วยตาเปล่า และรังสีต่างๆ ซึ่งคลื่นแม่เหลĘกไฟฟŜาที่แผ่รังสีมาจากดวงอาทิตย์นี้มีความยาวคลื่นต่างๆ ตั้งแต่ความ ยาวคลื่นมากกว่า 1 , 000 m ต่อเนื่องกันจนถึงสั้นกว่า 0.2 m (200 nm ) ในบรรดาคลื่นแสงที่แผ่มาจากดวงอาทิตย์ ทั้งหมด แสงสีเหลืองที่มีความยาวคลื่น 0.55 m (550 nm ) เปŨนคลื่นแสงที่มีปริมาตรความเข้มสูงสุด และแสงแดดเปŨน คลื่นแสง ที่เหมาะสมที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสงสร้างชีวมวล ( Biomass) และมี่ส่วนทาให้พืชและสัตว์ดารงชีวิตอยู่บนโลก นี้ได้ [1] โดยที่ในแตละวันรังสีอาทิตยจะแปรคาจากเชาจนถึงเยĘน ถาเปนวันที่ทองฟาแจมใสและปราศจากเมÛ รังสี อาทิตยจะคอยๆ เพิ่มขึ้นตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงคาสูงสุดที่เวลาประมาณเที่ยงวันแลวคอยๆ ลดลงจนถึงคาต่าสุดเมื่อดวง อาทิตยตก สาหรับวันทั่วไปอาจมีเมÛมาบดบังดวงอาทิตยเปนครั้งคราวหรือบางครั้งอาจมีเมÛปกคลุมทั่วทั้งทองฟา ทาให รังสีอาทิตยที่พื้นผิวโลกมีคาต่า ถารังสีอาทิตยที่ไดรับมีความเขมสูงคนทั่วไปจะเรียกวา มีแดด สาหรับในทางวิทยาศาสตร องคการอุตุนิยมวิทยาโลกได้กาหนดการมีแดดวาเกิดขึ้นเมื่อความเขมรังสีตรงบนระนาบที่ตั้งฉากกับทิศทางของรังสีมีคา มากกวา 120 W/m 2 [2] ดังนั้นระยะความยาวนานของแสงแดดรายวัน รายเดือน หรือรายปี จึงเปŨนข้อมูลที่สาคัâที่มีผลต่อการนาไปใช้ ประโยชน์ด้านต่างๆ ทั้งในระบบพลังงานทดแทนในเชิงความร้อนหรือไฟฟŜา หรือในทางการเกษตรสาหรับการเพาะปลูก และการเจริâเติบโตของพืช ซึ่งพืชแต่ละชนิดต้องการระยะความยาวนานของแสงแดดแตกต่างกัน เปŨนต้น ซึ่งที่ผ่านมาได้มี การศึกษาการประมาณค่าความยาวนานแสงแดดจากค่าเมÛปกคลุม [3] แต่ในการศึกษาครั้งนี้มุ่งหวังที่จะให้ผู้ที่ใช้ประโยชน์ ค่าความนานแสงแดดสามารถประมาณค่าได้จากค่าปริมาณฝนรายวันหรือรายเดือนได้ ทั้งนี้ทางกรมอุตุนิยมวิทยามีสถานี ตรวจวัดความยาวนานแสงแดดน้อยมาก แต่สถานีตรวจวัดปริมาณฝนมีระดับรายอาเภอรวมทั้งสถานีตรวจวัดฝนทาง การเกษตรทั่วทั้งประเทศ ซึ่งทางกรมอุตุนิยมวิทยาได้รวบรวมข้อมูลและเสนอรายงานประจาวันอยู่แล้ว (ดังภาพที่ 1) ภาóที่ǰ ǰǰ รายงานปริมาณฝนประจาวัน ณ เวลา 7 :00 น. ของกรมอุตุนิยมวิทยา [4] วิíีการวิจัย ข้อมĎลóืĚนåาน ในการดาเนินการวิจัยครั้งนี้ ได้อาศัยการใช้ข้อมูลพื้นåานตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาจากกรมอุตุนิยมวิทยา ที่ ประกอบด้วยค่าปริมาณฝนรายเดือนของ 14 จังหวัดภาคใต้ ในช่วงปี พ.ศ. 2548 - 2558 และค่าความยาวนานแสงแดด รายวันในช่วงปี พ.ศ. 2548 - 2558 ของ 5 จังหวัด คือ ชุมพร สุราษãร์ธานี พัทลุง สงขลา และยะลา
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3