เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1074 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 วิíีดาเนินการวิจัย 1. ทาการคานวณและวิเคราะห์ข้อมูลค่าความยาวนานวัน เพื่อใช้ในการตรวจสอบค่าความยาวนานแสงแดด โดยใช้ สมการความสัมพันธ์ 1 0 2 s cos tan tan 15 I G . (1) เมื่อ 0 s คือ ค่าความยาวนานวันในหน่วยชั่วโมง (hr), I คือ ค่ามุมละติจูดของสถานีตรวจวัด ในหน่วยองศา, G คือ ค่า มุม declination ในหน่วยองศา ซึ่งหาได้จาก 360 23.45sin 284 n 365 ª º G « » ¬ ¼ . (2) เมื่อ n คือ ลาดับที่ของวันในรอบปี 2 . ทาการรวบรวมข้อมูลฝนรายเดือนของปี 2548 - 2557 มาเปŨนค่าเฉลี่ยรายเดือนทั้ง 12 เดือน 3. ทาการรวบรวมข้อมูลความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนในแต่ละปีของปี 2548 – 2558 4. ทาการเฉลี่ยค่าความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนของปี 2548 - 2557 มาเปŨนค่าเฉลี่ยรายเดือนทั้ง 12 เดือน ของ 5 จังหวัดตัวอย่าง 5. สร้างสมการเอมไพริคัลของความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่ได้จากข้อ 2 และความยาวนานแสงแดดที่ได้ในข้อ 4 ของ 5 จังหวัดตัวอย่าง 6. ทดสอบแบบจาลองสมการที่ได้ในข้อ 5 ด้วยข้อมูลปี 2558 ของ 5 จังหวัดตัวอย่าง และวิเคราะห์ผลการทดสอบ ด้วยค่าทางสถิติ ประกอบด้วย ค่า root mean square error ( RMSE ) ค่า mean bias error ( MBE ) และค่า correlation coefficient ( CC ) ดังนี้ [5] 1/2 N 2 e m 1 1 RMSE s s N ª º ½ ® ¾ « » ¯ ¿ ¬ ¼ ¦ (3) N e m 1 1 MBE s s N ª º « » ¬ ¼ ¦ (4) ^ `^ ` e mm m mm 1/2 2 2 e mm m mm s s s s CC s s s s ª º ¬ ¼ ª º ¬ ¼ ¦ ¦ ¦ (5) เมื่อ N คือ จานวนขอมูลที่ทาการวัดเท่ากับ 12 ค่า (12 เดือน) e s และ m s คือ ค่าความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยราย เดือนที่ได้จากการประมาณค่าด้วยสมการแบบจาลองและที่ได้จากการวัดจริง ตามลาดับ และ em s และ mm s คือ ค่าเฉลี่ย ทั้งปีของค่าความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนที่ได้จากการประมาณค่าด้วยสมการแบบจาลองและที่ได้จากการ วัดจริง ตามลาดับ 7. คานวณหาค่าความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนจากปริมาณฝนรายเดือนเฉลี่ยทั้ง 11 ปี ตั้งแต่ปี 2548 - 2558 ของ 14 จังหวัดภาคใต้ แล้วสร้างแผนที่คอนทัวร์ค่าความยาวนานแสงแดดเฉลี่ยรายเดือนของภาคใต้ ครบทั้ง 12 เดือน 8. สร้างแผนที่คอนทัวร์ปริมาณฝนและค่าความยาวนานแสงแดดรายปีของภาคใต้ ñลการวิจัยและอภิปราบñลการวิจัย ผลการคานวณและวิเคราะห์ข้อมูลค่าความยาวนานวัน เพื่อใช้ในการตรวจสอบค่าความยาวนานแสงแดดของ สถานีตรวจอุตุนิยมวิทยาทั้ง 14 จังหวัด โดยใช้ความสัมพันธ์ตามสมการ (1) และ (2) พบว่า ค่าความยาวนานวันมีค่าสูงสุด และต่าสุดอยู่ที่จังหวดชุมพร ซึ่งมีค่าสูงสุด 12.6 ชั่วโมง ในเดือนมิถุนายนและมีค่าต่าสุด 11.4 ชั่วโมง ในเดือนธันวาคม (ตามค่าละติจูดสูงสุด) และทุกจังหวัดจะมีค่าความยาวนานวันเท่ากัน 12 ชั่วโมง ในเดือนมีนาคมและกันยายน ดังภาพที่ 2
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3