เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1077 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) ภาóที่ǰ 5 ǰǰ เปรียบเทียบค่าความยาวแสงแดดจากสมการความสัมพันธ์กับค่าที่วัดได้ ณ ปี 2558 ของ 5 จังหวัดตัวอย่าง สาหรับค่าทางสถิติของการทดสอบดังตารางที่ 3 ซึ่งให้ค่า RMSE อยู่ในช่วง 1.2459 – 1. 4611 hr/day ค่า MBE ให้ค่าอยู่ในช่วง - 0.993 – 3.64 hr/day และค่า CC อยู่ในช่วง 0.640-0.833 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่น่าพอใจ ตารางที่ǰ 3 ǰǰ ผลการวิเคราะห์ทางสถิติของสมการความสัมพันธ์ปริมาณฝนและความยาวนานแสงแดดที่ทดสอบกับข้อมูล ของ 5 จังหวัดตัวอย่าง ณ ปี 2558 ผลคานวณหาค่าความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนจากปริมาณฝนรายเดือนเฉลี่ยทั้ง 11 ปี ตั้งแต่ปี 2548-2558 ของ 14 จังหวัดภาคใต้ แล้วสร้างแผนที่คอนทัวร์ค่าความยาวนานแสงแดดเฉลี่ยรายเดือนของภาคใต้ ครบทั้ง 12 เดือน ดังภาพที่ 6 พบว่า แผนที่ความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนที่ได้นี้ให้ค่าสูงมากว่า 8 ชั่วโมงในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ และค่าที่ระดับ 5 - 7 ชั่วโมง ในเดือนมกราคม มีนาคม และเมษายน ส่วนในเดือนมิถุนายนพื้นที่จังหวัดระนอง และพังงาจะมีค่าน้อยที่สุด โดยที่จังหวัดอื่นๆ จะให้ค่าน้อยในเดือนตุลาคมและพùศจิกายน ซึ่งสอดคล้องกับปริมาณฝนตก ชุกในพื้นที่เหล่านั้น ส่วนปริมาณฝนรวมรายปีเฉลี่ยและความยาวนานแสงแดดรวมรายปีที่ประมาณค่าได้ในช่วงปี 2548 - 2558 พบว่า จังหวัดพื้นที่จังหวัดระนองและพังงา มีปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยมากกว่า 3,200 mm ขณะที่พื้นที่จังหวัดอื่นๆ มีปริมาณฝน รายปีเฉลี่ยในช่วง 2,300 - 2,800 mm โดยที่ความยาวนานแดดรวมรายปีในพื้นที่จังหวัดสุราษãร์ธานีและปŦตตานีให้ค่า ความยาวนานแดดมากกว่า 2,200 ชั่วโมงต่อปี แต่พื้นที่จังหวัดระนอง พังงา และสตูล ให้ค่าความยาวนานแดดต่ากว่า 2,000 ชั่วโมงต่อปี ดังภาพที่ 7 506( 0%( && KU GD\ KU GD\ &KXPSKRQ 1.4382 0.993 0.832 6XUDW 7KDQL 1.3421 0.695 0.728 3KDWWKDOXQJ 1.2520 0.364 0.750 6RQJNKOD 1.2459 0.685 0.833 <DOD 1.4611 0.088 0.640 3URYLQFH
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3