เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1079 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) ภาóที่ǰ 7 ǰǰ ปริมาณฝนรวมรายปีเฉลี่ยและความยาวนานแสงแดดรวมรายปีที่ประมาณค่าได้ในช่วงปี 2548 - 2558 สรčปñลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ได้สร้างแบบจาลองสมการเอมไพริคัลของความสัมพันธ์ที่ได้จากปริมาณฝนรายเดือนและความ ยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือนและเฉลี่ยของทั้ง 5 จังหวัดตัวอย่างช่วงปี 2548 - 2557 ของสมการความสัมพันธ์ ความยาวนานแสงแดดรายวันเฉลี่ยรายเดือน e s และค่าปริมาณฝนรายเดือนเฉลี่ย r คือ ค่าด้วยค่า R 2 เท่ากับ 0.6919 ที่ มีรูปแบบสมการเปŨน 2 3 5 8 e s 9.6632 0.03774r 8.7904 10 r 6.8 10 r u u โดยค่าทางสถิติของการทดสอบให้ค่า RMSE อยู่ในช่วง 1.2459 – 1. 4611 hr/day ค่า MBE อยู่ในช่วง - 0.993 – 3.64 hr/day และค่า CC อยู่ในช่วง 0.640-0.833 ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่น่าพอใจ ขณะที่แผนที่ปริมาณฝนรวมรายปีเฉลี่ยและ ความยาวนานแสงแดดรวมรายปีที่ประมาณค่าได้ในช่วงปี 2548 - 2558 พบว่า จังหวัดพื้นที่จังหวัดระนองและพังงา มี ปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยมากกว่า 3,200 mm ขณะที่พื้นที่จังหวัดอื่นๆ มีปริมาณฝนรายปีเฉลี่ยในช่วง 2,300 - 2,800 mm โดยที่ความยาวนานแดดรวมรายปีในพื้นที่จังหวัดสุราษãร์ธานีและปŦตตานีให้ค่าความยาวนานแดดมากกว่า 2,200 ชั่วโมง ต่อปี แต่พื้นที่จังหวัดระนอง พังงา และสตูล ให้ค่าความยาวนานแดดต่ากว่า 2,000 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้นจึงสามารถนาปริมาณฝนที่วัดได้แทนค่าในสมการข้างต้นเพื่อหาความยาวนานแสงแดดได้ รวมทั้งแผนที่ ดังกล่าวนี้จะมีประโยชน์ในทางการเกษตรเพาะปลูกพืชต่างๆ และในระบบพลังงานทดแทนที่เกี่ยวข้องกับรังสีอาทิตย์ เอกสารอ้างอิง [1] แสวง เกิดประทุม, 2561. แสงแดด . ฝśายวิศวกรรม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย . สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2561 ; http://www.tistr.or.th/ed/.... [2] เสริม จันทร์ฉาย , 2556. รังสีอาทิตย์. หน่วยวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปåม. 608 หน้า. [3] Robaa, S.M., 2008. Evaluation of sunshine duration from cloud data in Egypt. Energy, 33: 785- 795. [4] กรมอุตุนิยมวิทยา, 2561. รายงานฝนอาเภอล่าสุด. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2561 ; https://tmd.go.th/services/downloads.php [5] Adhikari, K.R., Bhattarai, B.K. and Gurung, S., 2013. Estimation of global solar radiation for four selected sites in Nepal using sunshine duration hours, temperature and relative humidity. Journal of Power and Energy Engineering, 1:1-9. (mm/year) 98.0 98.5 99.0 99.5 100.0 100.5 101.0 101.5 102.0 Longitude ( E) 6.0 6.5 7.0 7.5 8.0 8.5 9.0 9.5 10.0 10.5 11.0 Lattitude ( N) 1,600 2,000 2,400 2,800 3,200 3,600 4,000 4,400 Chumphon Ranong Surat Thani Takuapa Phuket Krabi Trang Nakhon Si Thammarat Phatthalung Songkhla Satun Pattani Yala Narathiwat o o (hr/year) 98.0 98.5 99.0 99.5 100.0 100.5 101.0 101.5 102.0 Longitude ( E) 6.0 6.5 7.0 7.5 8.0 8.5 9.0 9.5 10.0 10.5 11.0 Lattitude ( N) 1,800 1,900 2,000 2,100 2,200 2,300 2,400 Chumphon Ranong Surat Thani Takuapa Phuket Krabi Trang Nakhon Si Thammarat Phatthalung Songkhla Satun Pattani Yala Narathiwat o o
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3