เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561

1104 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 บทนา ประเทศไทยเปŨนประเทศเกษตรกรรมและมีสินค้ามากมายที่สามารถผลิตขึ้นบริโภคภายในประเทศและสามารถ ส่งออกต่างประเทศได้อีกด้วย หมากเปŨนผลผลิตทางการเกษตรอีกประเภทหนึ่งที่มีแนวโน้มการส่งออกต่างประเทศสูงขึ้นทุก ปŘ โดยเฉพาะหมากแห้ง ซึ่งมีประโยชน์ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง ฟอกเส้นใย และทายารักษาโรค ผลหมากยังสามารถใช้เปŨน ยาสมุนไพรในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น ใช้สมานแผล แก้ท้องเสีย รักษาโรคเหงือกและฟŦ น เปŨนต้น โดยการแปรรูป หมากสดเปŨนหมากแห้งทาให้มูลค่าทางการตลาดเพิ่มสูงขึ้น 10 เท่าของหมากสด ( หมากสดและหมากแห้งมีราคาเฉลี่ย 5. 03 และ 49. 63 บาทต่อกิโลกรัม ตามลาดับ ) ซึ่งความชื้นของหมากแห้งควรอยู่ในช่วงที่กาหนดไว้ คือ 12 - 5 เปอร์เซ็นต์ มาตรฐานแห้ง [1] นอกจากนี้หมากแห้งยังสามารถเก็บไว้ได้นานหากมีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม คือ เก็บไว้ในภาชนะที่มี òาปิดมิดชิดในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก หมากมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Areca catechu Linn. เปŨนไม้ยืนต้นตระกูลปาล์มเช่นเดียวกับมะพร้าว ปŦจจุบันแหล่ง ปลูกหมากที่เปŨนเชิงการค้าของโลกได้แก่ อินเดีย ศรีลังกา พม่า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน อินโดนีเซีย และไทย แหล่ง ปลูกในประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้และภาคกลาง สาหรับจังหวัดที่มีการปลูกหมากมากที่สุด คือ ชุมพร รองลงมา คือ นครศรีธรรมราช ระนอง ฉะเชิงเทรา พัทลุง ตรัง พังงา ระยอง นครปฐม และสุราษãร์ธานี ตามลาดับ [2] ผลหมาก ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ เปลือกชั้นนอก ( เปŨนเยื่อบางสีเขียว เนื้อเปลือกมีเส้นใยละเอียดและเหนียว ) เปลือกชั้นกลาง ( เปŨน เส้นใยหนามองเห็นชัด เมื่อผลอ่อนเส้นใยจะอ่อนและเหนียวแข็งเมื่อแก่ ) เปลือกชั้นใน ( เปŨนเยื่อบางละเอียดติดกับเนื้อ หมาก ) และส่วนเมล็ดหรือเนื้อหมาก ( เปŨนส่วนของเนื้อหมาก อยู่ถัดจากเยื่อบางเข้าไป เมื่ออ่อนเนื้อเนื้อจะนิ่ม ผิวจะมี ลายเส้นสีเหลือถึงสีน้าตาล เนื้อจะมีสีเหลืองอ่อนถึงสีเหลืองเข้มอมแดง ) [3] ในการศึกษาครั้งนี้จะทาการศึกษาความชื้นสมดุล (Equilibrium Moisture Content) [3] สาหรับการอบแห้ง เนื้อหมาก ซึ่งเปŨนพารามิเตอร์ตัวหนึ่งที่สาคัญของกระบวนการทาหมากแห้ง เนื่องจากความแตกต่างของความชื้นของวัสดุ จะเปŨนตัวที่แสดงถึงความเปŨนไปได้ ที่ความชื้นในวัสดุจะเกิดการถ่ายโอนไปยังอากาศแวดล้อมในขณะนั้น ซึ่งเปŨนการบอก ถึงค่าปริมาณความชื้นของวัสดุที่ต่าที่สุด ที่วัสดุจะระเหยน้าออกจากวัสดุไปยังสภาวะแวดล้อมนั้น และจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ของสภาวะแวดล้อม ประโยชน์ของค่าความชื้นสมดุล คือ การนาไปใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการ อบแห้ง เพื่อออกแบบเครื่องอบแห้งที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ [4] ในปŦจจุบันได้มีการหาค่าความชื้นสมดุลของผลผลิตทางการเกษตรหลายชนิด [4-8] ดังเช่น งานวิจัยของเทวรัตน์ และสมยศ [6] ได้ศึกษาหาความชื้นสมดุลโดยวิธีเชิงสถิตและคุณสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ของไพล ที่อุณหภูมิ 35 40 และ 50 องศาเซลเซียส ในช่วงความชื้นสัมพัทธ์อากาศ 0. 6 ถึง 0. 5 สรุปได้ว่าที่อุณหภูมิคงที่หนึ่ง ė ค่าความชื้นสมดุลของ ไพลมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อความชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้น และแบบจาลอง Modified GAB ให้ค่าในการทานายผลการทดลองของ ความชื้นได้ดีที่สุด ธนิดาและคณะ [7] ได้ศึกษาการหาความชื้นสมดุลของพลับโดยใช้วิธีเชิงสถิต พบว่าที่อุณหภูมิในการ อบแห้งเดียวกันค่าความชื้นสมดุลของพลับจะมีค่าสูงขึ้นเมื่อความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศมีค่าสูงขึ้น แต่ที่ความชื้นสัมพัทธ์ อากาศเดียวกันค่าความชื้นสมดุลของพลับจะมีค่าลดลง เมื่อค่าอุณหภูมิที่ใช้อบแห้งสูงขึ้น จากนั้นได้สร้างแบบจาลอง ความชื้นสมดุลของพลับตามรูปแบบของ Modified Oswin ขึ้น พบว่าแบบจาลองนี้สามารถอธิบายผลการทดลองได้เปŨน อย่างดี ซึ่งวิธีที่ยอมรับโดยทั่วไปในการหาค่าความชื้นสมดุล คือ วิธีเชิงสถิต (Static Method) [8] ดังนั้นสาหรับ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือ การศึกษาความสัมพันธ์ของค่าความชื้นสมดุลของเนื้อหมาก ที่อุณหภูมิและความชื้น สัมพัทธ์อากาศต่าง ė กัน โดยวิธีเชิงสถิต เพื่อนาไปสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ความชื้นสมดุล วัสดุǰอุðกøèŤĒลąวĉíĊกาøดาđนĉนกาø 1. หมากสาหøับกาøทดลอง นาผลหมากสดจากจังหวัดพัทลุง โดยใช้ผลหมากสดที่สังเกตเปลือกภายนอกด้วยสายตาเปŨนสีเหลืองแดง นามา ปอกเปลือกออก หั่นเนื้อหมากให้มีขนาดเล็กที่สุดประมาณ 5×5×2 มิลลิเมตร จากนั้นนาไปบรรจุในถุงพลาสติกที่ปิดสนิท แล้วเก็บไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 3 -5 องศาเซลเซียส เปŨนเวลา 7 วัน ระหว่างนี้ทาการเขย่าทุกวันเพื่อให้ความชื้นกระจาย สม่าเสมอ จากนั้นนามาวางที่อุณหภูมิบรรยากาศประมาณ 2 -3 ชั่วโมง แล้วนาไปหาความชื้นเริ่มต้นตามมาตรฐาน AOAC [9] ซึ่งเนื้อหมากที่ได้มีความชื้นเฉลี่ย 5 % มาตรฐานแห้ง

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3