เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1106 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 3. กาøวĉđคøาąหŤสมกาøĒบบÝาลองทางคèĉêýาสêøŤของความชื้นสมดุล ในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้สมการแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของความชื้นสมดุลรูปแบบต่าง ė แสดงดังตารางที่ 2 êาøางทĊęǰ 2 สมการแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของความความชื้นสมดุล [8-14] Model Name Model Equation Oswin B eq RH M A 1 RH Halsey 1 B eq A M T ln RH Henderson 1 B eq ln(1 RH) M AT Chung & Phost eq 1 RT M ln ln RH B A หมายเหตุ : T คือ อุณหภูมิ (K), R คือ ค่าคงที่ของกŢาซ เท่ากับ 8. 3 4 (J/mole K) RH คือ ความชื้นสัมพัทธ์ ( เศษส่วน ), ค่า A และ B คือ ค่าคงที่ของสมการ ñลกาøทดลองĒลąอõĉðøาย จากผลการทดลองเปรียบเทียบการหาความชื้นสมดุลของเนื้อหมาก ในช่วงอุณหภูมิ 50 -70 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 11-85 เปอร์เซ็นต์ พบว่าที่อุณหภูมิเดียวกันค่าความชื้นสมดุลจะเพิ่มขึ้น เมื่อค่าความชื้นสัมพัทธ์สูงขึ้น เนื่องจากที่สภาวะค่าความชื้นสัมพัทธ์สูง จะมีปริมาณความชื้นในอากาศสูงกว่าสภาวะที่ทีค่าความชื้นสัมพัทธ์ต่า จึงทาให้ ความชื้นในวัสดุที่สภาวะมี่มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สูง จะเกิดการสมดุลของความชื้นก่อนสภาวะที่มีความชื้นสัมพัทธ์ต่า และ เมื่อที่สภาวะค่าความชื้นสัมพัทธ์เดียวกัน ค่าความชื้นสมดุลจะสูงขึ้น เมื่ออุณหภูมิต่า เนื่องจากที่สภาวะอุณหภูมิต่านั้นการ กระตุ้นโมเลกุลของน้าในวัสดุจะน้อยกว่าที่สภาวะอุณหภูมิสูง จะทาให้ความชื้นในวัสดุที่อุณหภูมิต่าเกิดการถ่ายเทความชื้น ได้น้อยกว่าที่อุณหภูมิสูง แสดงดังรูปที่ 1 เมื่อทาการวิเคราะห์และเปรียบเทียบแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ความชื้นสมดุล 4 แบบกับผลที่ได้จากการ ทดลองในแต่ละอุณหภูมิ แสดงดังรูปที่ 2 – 4 และค่าคงที่ในแบบจาลองความชื้นสมดุลของเนื้อหมากแสดงดังตารางที่ 3 เมื่อทาการเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์ของการตัดสินใจ (Coefficient of Determination, R 2 ) ที่มีค่ามากที่สุด ค่า ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสมการถดถอย (Standard Error of Estimation, SEE) และค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยของ ความคลาดเคลื่อนกาลังสอง (Root Mean Square Error, RMSE) ที่มีค่าน้อยที่สุดของสมการแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ความชื้นสมดุล 4 แบบ แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 3 ซึ่งจะพบว่าแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ความชื้นสมดุลของ Halsey มีค่าที่ใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากการทดลองมากที่สุด โดยที่มีค่า R 2 สูงสุด ค่า SEE และค่า RMSE ต่าที่สุด จึงมีความ เหมาะสมที่จะใช้ในการทานายค่าความชื้นสมดุลของเนื้อหมากที่อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์อากาศต่าง ė แสดงดังรูปที่ 5 จากการวิเคราะห์ดังกล่าวข้างต้น อธิบายได้ว่าสมการแบบแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ความชื้นสมดุลของเนื้อ หมาก สอดคล้องกับผลการวิจัยที่ผ่านมาสาหรับวัสดุอาหารและเมล็ดธัญพืช [4-7, 10-15] ดังนั้นจึงสามารถนาแบบจาลอง ทางคณิตศาสตร์นามาใช้ในการทานายค่าความชื้นของเนื้อหมาก ในทุกช่วงอุณหภูมิได้ดี โดยมีรูปแบบสมการที่ไม่ซับซ้อน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3