เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561
1110 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจ�าปี 2561 P69 แอบพลิเคชั่นระบบปฏิบัติกำรแอนดรอยด์ส�ำหรับสืบค้นข้อมูลงำนวิจัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏสงขลำ Android Applications for Research Data in Songkhla Rajabhat University ธนภัทร เจิมขวัญ 1* และพุฒิธร ตุกเตียน 2 Thanapat Jermkwun 1* and Phuthithon Tugtian 2 บทคัดย่อ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาแอนดรอยด์แอปพลิเคชันส�าหรับสืบค้นข้อมูล งานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถช่วยให้ผู้ใช้งานในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยผ่านอุปกรณ์ สื่อสารเคลื่อนที่ได้ รูปแบบที่ใช้การพัฒนา คือ ADDIE Model มี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การทดลองใช้ และการประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาได้แก่ โปรแกรม HTML5, Jquery-Mobile, PHP, Phonegap และระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL ในขั้นตอนการประเมินผลระบบที่พัฒนา มีการประเมิน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ประเมินประสิทธิภาพที่ของระบบโดย ผู้เชี่ยวชาญ จ�านวน 3 ท่าน และครั้งที่ 2 ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน จ�านวน 10 ท่าน ผลการประเมินแสดงให้เห็น ว่า แอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่อยู่ในระดับดี ( x 4.08) จากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ และความพึงพอใจ ของผู้ใช้งานอยู่ในระดับดี ( x 4.18) จากการประเมินจึงสรุปได้ว่าแอปพลิเคชันสามารถน�าไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพที่ ในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยได้ ค�ำส�ำคัญ: แอบพลิเคชั่นระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์, สืบค้นข้อมูลงานวิจัย Abstract The objective of this research was to analysis, design and develop Android Applications for Research Data in Songkhla Rajabhat University. The developed system can help users search the research data via mobile device. The system was developed by using ADDIE Model which had 5 phases: Analysis, Design, Development, Implementation, and Evaluation. The software tools used in development phase were HTML5, JRuery-Mobile, PHP, Phonegap and MySQL. In evaluation phase, the developed system was evaluated with two evaluation using two questionnaires. The first time was evaluated by three experts on the efficiency of the developed system, and the second time was evaluated by ten users on the user’s satisfactory. The results showed that the efficiency had good level ( x =4.08), and the userĴs satisfactory had also good level ( x =4.18). In conclusion, The Mobile Application could be effectively used for searching research data. Keyword: Android Application, Searching Research Data 1 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สงขลา 90000 2 อ.,สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สงขลา 90000 1 Programmer, Institute of Research and Development, Rajabhat Songkhla University, Songkhla, 90000 2 Lecturer, Faculty of Industrial Technology, Rajabhat Songkhla University, Songkhla, 90000 * Corresponding author, Tel.:087-9685866. E-mail : thanapatjermkwun@gmail.com
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3